Page 39 - CAT Magazine
P. 39
IT INTREND 39
เมื่อ 3 ปีก่อน Intel ได้แสดงการควบคุมฝูงโดรน 100 ตัว พร้อมแปร
อักษรบนท้องฟ้า ซึ่งถือเป็นก้าวแรกและผู้บุกเบิก หลังจากนั้นก็มี
ข่าวออกมาเรื่อยๆ เช่น งาน Coachella 2018 ของวง Odesza,
การแสดงของ Lady Gaga ในช่วงพักครึ่งศึก Super Bowl 2018,
Intel ร่วมกับหนังสือ Time แสดงการสร้างภาพหน้าปกหนังสือ Time
เล่ม The Drone Age, พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 ที่เกาหลีใต้
โดยการแปรอักษรเป็นรูปห้าห่วงโอลิมปิกซึ่งใช้โดรนถึง 1,218 ตัว
และเป็นสถิติโลกการแสดงทางอากาศโดยใช้โดรนจ�านวนมากที่สุด
ในโลก ต่อมายังมีเมื่อช่วงตรุษจีนล่าสุดที่เมืองซีอาน ประเทศจีน
ได้ใช้แสดงแปรอักษรอวยพรส่งท้ายตรุษจีน และล่าสุดในบ้านเรา
ช่วงปลายปีที่แล้วห้างดังแห่งหนึ่งที่ท�าการเปิดตัวไปนั้นได้มีการแสดง
แปรอักษรด้วยโดรนจ�านวน 1,500 ตัว ซึ่งงดงามและสร้างความ
ประทับใจเป็นอย่างมาก
หลักการท�างานของการแสดงแสงสีด้วยโดรนคือการส่งโดรนไปยัง
ต�าแหน่งที่ต้องการบนท้องฟ้า ซึ่งต�าแหน่งดังกล่าวนี้ละเอียดถึง
ระดับมิลลิเมตร จากนั้นให้ LED เปล่งสีออกมาตามเฉดสีที่ก�าหนด
โดยทั้งต�าแหน่งและเฉดสีถูกสั่งการด้วยซอฟต์แวร์เฉพาะส่งผ่าน
คลื่นสัญญาณแบบไร้สายไปยังโดรน
จะเห็นได้ว่าการแสดงแสงสีด้วยโดรนนี้ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก
ส�าคัญ ได้แก่ นอกจากนี้แล้วโดรนประเภทนี้ยังต้องเพิ่มขีดความสามารถของตัวเอง
เช่น กรณีเกิดหาต�าแหน่งพิกัดตัวเองไม่ได้ หรือพลังงานหมดกระทันหัน
Hardware คือ ตัวโดรนที่เป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กน�้าหนักเบา ระบบป้องกันการชนวัตถุ เป็นต้น
01 บินได้ ท�าจากพลาสติกและโฟม ส่วนใหญ่เป็นแบบ 4 ใบพัด
มีแบตเตอรี่เป็นแหล่งให้พลังงาน LED ที่แสดงเฉดสีได้กว่า 4 พันเฉด ปัจจุบันโดรนเหล่านี้น�้าหนักประมาณ 300-500 กรัม บินได้
ชุดสื่อสารไร้สาย เช่น Wi-Fi หรือคลื่นวิทยุอื่นๆ ส�าหรับติดต่อกับ ประมาณ 20 นาที ซึ่งเพียงพอต่อการจัดแสดงแสงสีในแต่ละครั้ง
ศูนย์ควบคุม หน่วยความจ�าและหน่วยประมวลผล ชุดระบุต�าแหน่ง อยู่แล้ว ด้านของกฏหมายการน�าโดรนขึ้นบินต้องมีการขอ
ดาวเทียม GPS/RTK ส�าหรับโดรนที่ใช้แบบ Indoor อาจไม่ต้องมีก็ได้ อนุญาตแม้กระทั่งคนเล่นโดรนทั่วไปเองยังต้องมีใบอนุญาต
การแสดงแสงสีด้วยโดรนดังกล่าวนี้เมื่อเทียบกับบ้านเราน่าจะ
02 ซอฟต์แวร์ส�าหรับควบคุม/สั่งการ โดรนทุกตัวต้องประสาน คล้ายกับการจุดพลุเพลิงในเทศกาลงานต่างๆ ซึ่งมีโอกาสก่อ
กันอย่างลงตัวด้วยซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาเป็นพิเศษช่วยให้ ให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินทั้งตัวเองและผู้อื่น
โดรนคุยกันรู้เรื่อง นอกจากนี้ยังมี Software ส�าหรับการท�าภาพ อีกทั้งมลภาวะทางเสียงและกลิ่นดินปืนอีกด้วย แม้ว่าผลลัพธ์
จ�าลอง (Simulate) ก่อนสั่งการไปยังโดรนทุกตัวด้วย ก่อนการแสดง ที่ออกมาคือความสวยงามของแสงสีบนท้องฟ้าเหมือนกันก็ตาม
ทุกครั้งทีมงานต้องมีการเก็บค่าข้อมูลต่างๆ ของสถานที่ที่ใช้แสดง ดังนั้นแล้วโดรนอาจจะมาช่วยปรับเปลี่ยนบางส่วนของเรื่องนี้ได้
เพื่อน�าไปประกอบในซอฟต์แวร์ควบคุม/สั่งการ ซึ่งขึ้นอยู่กับการน�าไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับงานนั่นเอง
JANUARY-MARCH 2019 / CAT MAGAZINE