Page 24 - CAT Magazine
P. 24

24     vision




        “FIBO เราเชี่ยวชาญทางด้าน robotics และ automation
        ซึ่งเป็นการบูรณาการศาสตร์ต่างๆ  เข้าด้วยกันทั้งวิศวกรรม
        อิเล็กทรอนิกส์ ไอที ไฟฟ้า และเครื่องกล เพื่อให้เกิดเทคโนโลยี
        หุ่นยนต์ที่จะเข้าไปรองรับงานด้านอุตสาหกรรม  เราไม่ได้
        ท�างานเป็นระดับ  mass  หรือสร้างหุ่นยนต์เป็นกองทัพให้
        อุตสาหกรรม  แต่เราเป็นสถาบันที่สร้างองค์ความรู้ใหม่และ
        เป็นนวัตกรรมที่ทันสมัยขึ้นมาเพื่อถ่ายทอดให้แก่สังคมหรือ
        อุตสาหกรรมเพื่อน�าไปต่อยอดเป็น mass ขึ้นมาได้”

        ทิศทางของหุ่นยนต์ในอนาคต
        นอกเหนือจากการมีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์
        ของประเทศไทยแล้ว  ผศ.ดร.ถวิดา  มณีวรรณ์  อดีตรอง
        ผู้อ�านวยการฝ่ายวิจัย FIBO กล่าวว่า “ ทิศทางของเทคโนโลยี
        หุ่นยนต์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งคาดการณ์ว่า ในอนาคตความ
        ต้องการ Service robot จะมากขึ้นและน�าหน้า Industrial
        robot ขึ้นไป การสร้างหุ่นยนต์ที่ดีไม่ใช่แค่สร้างให้ท�างานได้
        อย่างสมบูรณ์แบบแต่ต้องรู้ว่าประเทศต้องการส่งเสริม หรือ
        ขาดแคลนก�าลังในด้านไหน  ทั้งนี้ความต้องการสูงที่สุดคือ
        หุ่นยนต์ประเภท Field robotics, UAV หรือหุ่นยนต์ทั่วไป
        บินส�ารวจการปลูกพืชพันธุ์  ใช้ในการวิเคราะห์ภาพรวมของ
        การพ่นยา พ่นสารเคมีในฟาร์มขนาดใหญ่ รวมถึงหุ่นยนต์ทาง
        การเกษตร ที่ช่วยในการเก็บเกี่ยวผลผลิต หรือให้ปุ๋ย เนื่องจาก
        ไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม จึงไม่มีทางที่จะหนีเรื่องนี้ไปได้
        ดังนั้นจึงต้องมีการเตรียมเทคโนโลยีให้พร้อมรับสถานการณ์
        ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

        “คิดว่าภายใน  5-10  ปี  วงการเกษตรในเมืองไทยหลีกเลี่ยงไม่พ้น  เพราะเราจะขาดแคลน
        แรงงานคนท�าการเกษตร ดังนั้นประเทศมีความต้องการหุ่นยนต์เข้ามาช่วย ดังนั้น นักวิจัย
        นักวิทยาศาสตร์ในเมืองไทยจะต้องเห็นว่าสิ่งที่สร้างขึ้นนั้นเหมาะกับเมืองไทยหรือไม่ คนไทย
        น�าไปใช้ได้หรือเปล่า เพราะหากความต้องการมีมากเราไม่สามารถน�าเทคโนโลยีจากในยุโรป
        หรืออเมริกามาใช้ในบ้านเราได้  เพราะต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ต่างกัน  ตอนนี้เกาหลีใต้



                                                                           เป็นประเทศที่มีหุ่นยนต์มากที่สุดในโลก  ตามด้วยญี่ปุ่น
                                                                           ส่วนเมืองไทยก็ไล่ตามมาไม่ห่างจากจีนนัก  ดังนั้นสิ่ง
                                                                           ที่ก�าลังจะเป็นจุดเปลี่ยนตอนนี้  คือ  ในอนาคตหุ่นยนต์
           เคล็ดลับในการพัฒนาหุ่นยนต์ให้ใช้งานได้จริง                      ที่ใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์จะเข้ามาแทรกซึมอยู่ทุก
           สิ่งส�าคัญที่นักพัฒนาใช้เป็นหลักในการพัฒนาหุ่นยนต์ คือความฉลาดของ  อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ และอยู่ในชีวิต
           หุ่นยนต์ที่สามารถรับรู้สิ่งแวดล้อมต่างๆ และสามารถตัดสินใจได้ ซึ่งต้อง  ประจ�าวัน  แตกต่างจากอดีตที่หุ่นยนต์อยู่แต่ในโรงงาน
           ยึดหลัก 4 ขั้นตอนง่ายๆ ในการท�าหุ่นยนต์ให้ใช้ได้จริง ประกอบด้วย  แต่ในอนาคตไม่ว่าจะไปโรงเรียน โรงพยาบาลก็อาจจะเจอ
                                                                           หุ่นยนต์อยู่ในทุกมุมของชีวิต”
           1.  ต้องลงมือสร้างหุ่นยนต์ขึ้นมาจากสิ่งที่คิดไว้
           2.  เมื่อเข้าใจแล้วต้องสร้างแพลตฟอร์มมาตรฐานขึ้นมาให้สามารถใช้งานได้
             ซ�้าแล้วซ�้าอีกเพราะนั่นคือหัวใจส�าคัญของหุ่นยนต์             นอกจากนั้น ยังมีปัจจัยเรื่อง Aging Society  เข้ามา
           3.  เมื่อเราต้องการความมั่นใจว่าหุ่นยนต์สามารถท�างานได้ถูกต้องด้วย   เกี่ยวข้อง เนื่องจากปี ค.ศ. 2018 นี้จะเข้าสู่ยุคสังคม
             การทดลองใช้จริงในงานนั้นๆ ต้องค�านึงถึงผู้ใช้งานด้วย ซึ่งเป็น   ผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว  สังคมจะมีผู้สูงอายุมากกว่า
             สิ่งส�าคัญที่วงการหุ่นยนต์ไทยยังขาด                           คนวัยท�างาน ดังนั้นจึงต้องมีการวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์
           4. ปล่อยหุ่นยนต์สู่โลกกว้าง ต้องน�าออกไปใช้จริงบ่อยๆ เพราะยิ่งใช้   ที่ช่วยทุ่นแรง ซึ่งในอนาคตมนุษย์อาจจะต้องการหุ่นยนต์
             ก็จะยิ่งรู้ปัญหาและจุดบกพร่องมากขึ้น                          ที่ช่วยทุ่นแรงภายในบ้านมากขึ้น



        CAT MAGAZINE  /  April-June 2018
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29