Page 23 - CAT Magazine
P. 23

vision     23




           (IFR) พบว่า ในปี ค.ศ. 2017 จ�านวนหุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรม
           ของไทยอยู่อันดับที่ 10 ของโลก โดยเพิ่มขึ้นมากที่สุดในปี ค.ศ. 2012
           หลังจากเหตุการณ์น�้าท่วมครั้งใหญ่ ที่ท�าให้โรงงานจ�านวนมากมีการ
           ลงทุนเครื่องจักรใหม่เพื่อทดแทนเครื่องจักรที่เสียหายประกอบกับ
           ค่าจ้างขั้นต�่าที่ปรับสูงขึ้นส่งผลให้ผู้ประกอบการตัดสินใจใช้หุ่นยนต์
           ในการผลิต


           สาเหตุที่มีการใช้หุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรมของไทยอยู่ในอันดับ
           ต้นๆ ของโลกนั้น ส่วนหนึ่งเป็นเพราะสัดส่วนของภาคอุตสาหกรรม
           ของไทยมีขนาดใหญ่นั่นเอง สิ่งเหล่านี้ท�าให้ประเทศไทยจ�าเป็นต้องมี
           บุคลากรด้านหุ่นยนต์  ที่ไม่ใช่เป็นเพียงผู้ใช้งาน  หากแต่ต้องเป็น
           ผู้พัฒนา และสรรค์สร้างนวัตกรรมด้านหุ่นยนต์อีกด้วย โดยหนึ่งใน
           องค์กรที่มีบทบาทส�าคัญในภารกิจนี้ก็คือ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์
           ภาคสนาม (Institute of Field robotics : FIBO) มหาวิทยาลัย
           เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
                                                                  รศ.ดร.สยาม เจริญเสียง
           จุดเริ่มต้นของ FIBO                                    ผู้อ�านวยการสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม
           สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม  หรือ  FIBO  ก่อตั้งขึ้นในปี
           พ.ศ. 2538 ได้มีการเปิดหลักสูตรวิศวกรรมหุ่นยนต์ ในระดับปริญญาตรี
           เพื่อผลิตวิศวกรหุ่นยนต์ที่มีความสามารถในการออกแบบ  พัฒนา
           วิจัย เพื่อสร้างระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อัตโนมัติ และที่นี่ถือเป็น  และเทคโนโลยีชั้นสูง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเรียนการสอน
           มหาวิทยาลัยไทยแห่งแรกที่เปิดหลักสูตรเฉพาะทางด้านวิทยาการ  ด้านวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของที่นี่จะเน้นให้นักศึกษามีส่วนร่วม
           หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติครบทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก  ในกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน นักศึกษาจะได้ท�าโครงงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
                                                             เน้นการแก้ปัญหาจากการลงมือท�าจริง โดยประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านวิศวกรรม
           โดยหลักสูตรวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของ FIBO ได้รับ  ไฟฟ้า เครื่องกล และคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
           การยอมรับในวงการอุตสาหกรรมทั้งด้านอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์
           การผลิตและแปรรูปอาหาร ตลอดจนงานบริการวิชาการแก่ภาครัฐ   นอกจากงานด้านการศึกษาแล้ว FIBO ยังมีงานด้านบริการ ครอบคลุมการให้
           และเอกชน  และได้รับการสนับสนุนจาก  สถาบันวิทยาศาสตร์  ค�าปรึกษา  วิเคราะห์และวางแผนกลยุทธ์การบริหารจัดการเทคโนโลยีในด้าน
                                                                              หุ่นยนต์  ระบบอัตโนมัติ  และเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                                              การออกแบบและทดสอบ  ได้แก่การออกแบบซอฟต์แวร์
                                                                              และฮาร์ดแวร์ โดยท�าการทดสอบเพื่อยืนยันความเป็นไป
                                                                              ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการผลิต และการพัฒนาและ
                                                                              จัดสร้างต้นแบบ ซึ่งเป็นงานด้านจัดสร้างต้นแบบเทคโนโลยี
                                                                              หรือผลิตภัณฑ์  และพัฒนาที่มีคุณสมบัติเหมาะสม
                                                                              ส�าหรับน�าออกสู่ตลาดหรือน�าไปใช้ในเชิงธุรกิจ


                                                                              รศ.ดร.สยาม เจริญเสียง ผู้อ�านวยการสถาบันวิทยาการ
                                                                              หุ่นยนต์ภาคสนาม กล่าวว่า “FIBO เป็นสถาบันที่ท�าหน้าที่
                                                                              วิจัย  บริการวิชาการ  และสร้างคน  เปิดสอนหลักสูตร
                                                                              FRA หรือ FIBO Robotics and Automation ในระดับ
                                                                              ปริญญาโทและเอกมาเป็นเวลามากกว่า 10 ปีแล้ว และ
                                                                              ยังเป็นสถาบันแห่งแรกของไทยที่ให้ปริญญาเฉพาะทาง
                                                                              ด้านวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติครบตั้งแต่ระดับ
                                                                              ปริญญาตรี-โท-เอก  เพื่อสร้างคนที่เป็นผู้น�าทางด้าน
                                                                              วิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเพื่อรองรับความ
                                                                              ต้องการของภาคอุตสาหกรรม บริการและสังคมต่อไป”








                                                                                         April-June 2018  /  CAT MAGAZINE
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28