Page 22 - CAT Magazine
P. 22
22 vision
FIBO
่
กับอนาคตทีสดใส
ของอุตสาหกรรม
หุ่นยนต์ไทย
เทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ท�าให้
หลายอย่างเข้ามาอยู่ใกล้ตัวเราอย่าง
คาดไม่ถึง หนึ่งในเทคโนโลยีที่เราจะพูดถึงใน
ครั้งนี้ก็คือ “หุ่นยนต์” ส�าหรับคนทั่วไปแล้ว การมี
หุ่นยนต์เข้ามาอยู่ในบ้าน คอยเป็นผู้ช่วย ตัวอย่าง
เช่น หุ่นยนต์เครื่องดูดฝุ่น หุ่นยนต์สัตว์เลี้ยง
หรือหุ่นยนต์ดูแลผู้สูงอายุอาจจะดูเป็นเรื่องใหม่
แต่ส�าหรับภาคอุตสาหกรรมแล้ว ไม่ใช่เรื่องใหม่
แต่อย่างใด
หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมไทย ความหนาแน่นของการใช้หุ่นยนต์
การใช้หุ่นยนต์ช่วยในการผลิตสินค้าในภาคอุตสาหกรรม (Industrial จากข้อมูลของ International Federation of Robotics (IFR) ระบุว่า
Robotics) ของไทยนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ มีการน�าหุ่นยนต์มาใช้เพื่อช่วย แม้ไทยจะเป็นหนึ่งในประเทศที่มีการใช้งานหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานในไทยราว อันดับต้นๆ ของโลก แต่เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนของหุ่นยนต์ต่อแรงงาน
5-10 ปีมาแล้ว โดยข้อมูลจาก International Federation of Robotics ในภาคการผลิตหรือความหนาแน่นของการใช้หุ่นยนต์แทนแล้วกลับ
พบว่า ความหนาแน่นของการใช้หุ่นยนต์อยู่ที่ 45 ตัวต่อแรงงาน
10,000 คน ซึ่งต�่ากว่าค่าเฉลี่ยของโลกที่หุ่นยนต์ 74 ตัวต่อแรงงาน
10,000 คน โดยประเทศที่มีการใช้หุ่นยนต์ในการผลิตมาก เช่น
เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น มีความหนาแน่นของหุ่นยนต์ต่อแรงงานถึง 631
และ 303 ตัวต่อแรงงาน 10,000 คน
การที่ความหนาแน่นของการใช้หุ่นยนต์ในไทยยังต�่ากว่าค่า
เฉลี่ยโลก เนื่องจากการใช้หุ่นยนต์กระจุกตัวอยู่เพียง 3 อุตสาหกรรม
คืออุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมยางและพลาสติก และ
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โดยค่าแรงใน 3 อุตสาหกรรมดังกล่าว
สูงกว่าค่าแรงเฉลี่ยของภาคการผลิตทั้งหมด จะเห็นได้ว่าวงการ
หุ่นยนต์ในประเทศไทยนั้นยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก ซึ่งหมายถึง
อนาคตที่สดใสของบุคลากรด้านหุ่นยนต์ของไทยด้วยเช่นกัน
CAT MAGAZINE / April-June 2018