Page 21 - CAT Magazine
P. 21
CAT SPOTLIGHT 21
การพัฒนาสมาร์ตซิตี้
ภายใต้ความรับผิดชอบของ CAT
จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน
คือ ส่วนโครงสร้างพื้นฐานและส่วนบริการ การน�า LoRa ไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจของผู้ให้บริการ Speed Boat
รายใหญ่ได้เริ่มน�าไปใช้เพื่อดูแลความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว
1. ส่วนโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งในรูปแบบของการติดอุปกรณ์ระบบติดตามพิกัดไว้บนตัวเรือ
1.1 Free Wi-Fi 1000 จุด บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และ Flowlow Smart Travel สายรัดข้อมือติดตัวนักท่องเที่ยว
สาธารณะด้วยเทคโนโลยีไร้สาย Wi-Fi (Hi-speed Wi-Fi)
ส�าหรับประชาชน นักท่องเที่ยว และชาวต่างชาติ ณ พื้นที่สาธารณะ บริการอื่นๆ ที่ CAT ได้พัฒนาร่วมกับพาร์ตเนอร์เพื่อสนับสนุน Smart
พื้นที่ท่องเที่ยว และพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด Tourism เช่น แอปพลิเคชัน Smart Phuket 4.0 ระบบ Smart City
ภูเก็ต จ�านวน 100 สถานที่ และมีจุดให้บริการ 1,000 จุด Mobile Application ให้ประชาชน นักท่องเที่ยว และชาวต่างชาติ
ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ได้รับข้อมูลข่าวสารทางตรง ถูกต้องจากแหล่งที่
1.2 LoRaWAN โครงข่ายไร้สายส�าหรับ เชื่อถือได้ และได้รับข้อมูลการท่องเที่ยวที่เป็นประโยชน์ พร้อมสิทธิ
IoT เป็นโครงข่ายที่ออกแบบมาเพื่อรองรับ ประโยชน์ที่จ�าเพาะเจาะจงในพื้นที่ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเข้ามามีส่วน
บริการ IoT (Internet of Things) และเป็นระบบที่รองรับการพัฒนา ร่วมของผู้ประกอบการในพื้นที่หรือจังหวัดได้อีกทางหนึ่งด้วย รวมถึง
โซลูชันบริการอัจฉริยะต่างๆ ในเมืองที่เป็น Smart City ส�าคัญๆ ใน มีระบบบริการจัดการ ซึ่งจัดเก็บข้อมูลและการบริหารจัดการข้อมูล
หลายประเทศทั่วโลก โดย LoRaWAN จะท�าหน้าที่เป็นสื่อกลางใน Big Data และมีระบบรายงานเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล (Reporting
การรับ-ส่งข้อมูลจากอุปกรณ์หรือเซ็นเซอร์ต่างๆ อันเป็นหัวใจส�าคัญ Tool) ส�าหรับน�าเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจในการ
ของบริการอัจฉริยะใน Smart City อาทิ Smart Metering, Smart บริหารจัดการ Smart City ได้
Buildings, Smart Lighting, Smart Parking, Smart Farming,
Smart Logistics และ Smart Tourism ด้วยการรับ-ส่งสัญญาณได้ การติดตั้งอุปกรณ์ Beacon เพื่อแจ้งให้ประชาชน นักท่องเที่ยว
ครอบคลุมระยะทางไกล และใช้พลังงานต�่า โดยมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ต�่า และชาวต่างชาติในภูเก็ตได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องโดยตรงจาก
แหล่งข้อมูล เช่น บริการข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวหรือโปรโมชันดีๆ และ
ส่วนบริการ Digital Signage จอภาพดิจิทัลเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลพื้นฐาน
หลังจากจัดให้มีโครงข่ายพื้นฐานที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว CAT ยังได้ขยาย เช่น ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว โรงแรมที่พัก โรงพยาบาล สถานที่
มาด�าเนินการต่อเนื่องในส่วนของบริการ โดยขับเคลื่อนการพัฒนา ราชการ เป็นต้น
บริการและโซลูชันต่างๆ ร่วมกับพาร์ตเนอร์ในท้องถิ่น ให้สามารถ
ตอบโจทย์ความต้องการของเมืองภูเก็ตที่มีเป้าหมายการพัฒนา ท้ายสุดโมเดลการพัฒนาจากโครงการ Phuket Smart City
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ภายในงาน CAT ได้ยกขบวน “ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ” ไม่ได้เป็นเพียงการพัฒนาจังหวัดภูเก็ต
พาร์ตเนอร์ จ�านวน 26 บริษัท น�าโซลูชัน ซึ่งเป็นจิกซอว์ส�าคัญในการ เพียงจังหวัดเดียวเท่านั้น แต่เป็นโมเดลต้นแบบที่สามารถน�าไปประยุกต์
ต่อยอดจากโครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่ในปัจจุบันมาแสดงให้ชมกัน ใช้กับจังหวัดอื่นๆ ของประเทศไทยได้อีกด้วย
April-June 2018 / CAT MAGAZINE