Page 34 - CAT Magazine
P. 34
34 / AEC CONNECT
IoT รากฐานเทคโนโลยี
พัฒนาอาเซียน ล่าสุดก็คือโครงการเปลี่ยนไฟถนนทั่วทั้งเกาะให้เป็นระบบ Smart Lighting
ซึ่งสามารถควบคุมหลอดไฟให้ปรับแสงตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
เทคโนโลยี IoT ก�ำลังก้ำวเข้ำมำมีบทบำทมำกขึ้นเรื่อยๆ อากาศได้อย่างเหมาะสม รวมถึงสามารถแจ้งหลอดไฟเสียหรือท�างาน
ทั้งในกำรด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน กำรด�ำเนินธุรกิจ ไปจนถึง ผิดปกติได้โดยอัตโนมัติ
กำรวำงรำกฐำนให้กับ Smart City ในอนำคต ซึ่งไม่ใช่เฉพำะ
ในประเทศไทยเท่ำนั้น แต่ IoT ก็มีบทบำทส�ำคัญในกำรพัฒนำประเทศ ประเทศเวียดนำมก็ไม่น้อยหน้า นอกเหนือจากโครงการ IoT ของภาคเอกชน
เพื่อนบ้ำนของเรำด้วยเช่นกัน แล้ว รัฐบาลเวียดนามได้มีการเปิด Hoa Lac IoT Lab ตั้งอยู่ใน Hoa Lac
Hi-Tech Park ซึ่งเป็นนิคมอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีแห่งใหม่ของเวียดนาม
ตัวอย่างของประเทศมำเลเซีย เมื่อปีที่ผ่านมา กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม และส�านักวิจัยประยุกต์แห่งมาเลเซียได้ประกาศ ขณะที่ประเทศฟิลิปปินส์ก็เริ่มมีการน�า IoT มาใช้งานในหลายๆ ด้าน ไม่ว่า
แผนกลยุทธ์ IoT ระดับชาติออกมา ส่วนหนึ่งของแผนก็คือกระตุ้นการใช้งาน จะเป็นระบบแจ้งเตือนภัยพิบัติและน�้าท่วมของประเทศ รวมถึงระบบบริหาร
IoT ในประเทศ เพื่อบรรลุเป้าหมายการสร้างรายได้ที่ตั้งไว้ที่ 42.5 พันล้าน จัดการการใช้งานทางพิเศษเป็นต้น ส่วนประเทศลำวเอง ถึงจะยังไม่มีแผนที่
ริงกิต หรือประมาณ 13.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ให้ได้ภายในปี 2025 ชัดเจนนัก แต่หนึ่งในแผนหลักก็คือการท�า Digital Transformation ของ
รวมถึงการวางแผนด้านการรักษาความปลอดภัยการใช้งาน IoT ส�าหรับ ประเทศ ซึ่ง IoT ก็น่าจะเป็นส่วนหนึ่งของแผนนี้เช่นเดียวกัน
โครงการ Smart City ของมาเลเซียด้วย
ทั้งนี้ข้อมูลจากรายงาน Barometer Report ของบริษัทผู้ให้บริการด้าน
นอกเหนือจากฝั่งรัฐบาล ภาคเอกชนของมาเลเซียเองก็มีการสร้างโครงการ โทรคมนาคมยักษ์ใหญ่อย่างโวดาโฟน พบว่ามีบริษัทในเอเชียที่น�า IoT
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยชูแนวคิดของ Smart City เป็นจุดขายด้วยเช่นกัน ไปประยุกต์ใช้แล้วได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนคืนสูงถึง 70% ในขณะที่
โดยโปรเจ็กต์ Aspen Vision City เป็นแพลตฟอร์มการให้บริการและ ระดับโลกตัวเลขเฉลี่ยอยู่ที่ราว 63% ซึ่งถือได้ว่าสูงไม่แพ้กันเลย โดยประเทศ
โครงสร้างพื้นฐานด้านคลาวด์และ IoT ที่ครอบคลุมที่สุดของมาเลเซีย เป็น ผู้น�าด้านการใช้ IoT ในเอเชียแปซิฟิก ได้แก่ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย และ
แนวคิดของบริษัทด้านอสังหาริมทรัพย์ Aspen Group ภายใต้ความร่วมมือ ญี่ปุ่น ซึ่งบริษัทในประเทศเหล่านี้มองเทคโนโลยี IoT เป็นหนึ่งในเครื่องมือ
กับบริษัท IBM เพื่อผลักดันให้ “ปีนัง” เป็น Smart City ในอนาคต สู่ความส�าเร็จขององค์กรในอนาคต และให้ความส�าคัญกับการลงทุนด้าน IoT
ในภาคส่วนต่างๆ ค่อนข้างมาก
สิงคโปร์ก็เช่นกัน ภายใต้แผนยุทธศาสตร์หลักของประเทศ คือการก้าว
สู่ Smart Nation สิงคโปร์มีการพัฒนาโครงการ Smart City ในหลายๆ สอดคล้องกับรายงานของบริษัทวิจัยอย่าง IDC ที่ระบุว่า 62% ของกลุ่ม
ด้าน และ IoT ก็เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีส�าคัญในการขับเคลื่อน โครงการ องค์กรธุรกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ให้ความส�าคัญในการน�าเทคโนโลยี
IoT มาเป็นแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน
กับตลาดด้วยเช่นกัน
อุปสรรคที่ต้องก้าวข้าม
อย่างไรก็ดี ความกังวลต่อการประยุกต์ใช้ IoT
ก็คือประเด็นเรื่องการรักษาความปลอดภัย
ความเป็นส่วนตัว รวมถึงปัญหาการขาดแคลน
บุคลากรที่มีทักษะในด้านดังกล่าว นี่จึงเป็นสิ่ง
ที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและองค์กรเอกชน
ต้องเร่งพัฒนาเพื่อให้สามารถก้าวข้ามอุปสรรค
เหล่านี้ไปให้ได้
C
CAT MAGAZINEAT MAGAZINE