Page 30 - CAT Magazine
P. 30
30 / CAT VIP
จากการเดินทางไปศึกษาและดูงานมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ดร.สุกรีรับรู้ถึง
ความแตกต่างจนก่อให้เกิดแนวคิดในการพัฒนามหาวิทยาลัยในประเทศไทย
“ท�าไมมหาวิทยาลัยของเขาดีจังเลย ท�าไมของเขาถึงดูเท่มีเสน่ห์สุดยอด
แล้วท�าไมมหาวิทยาลัยไทยถึงจืดชืดและเชยแบบนี้ สิ่งเหล่านี้มันเป็นค�าตอบ
ในตัวมันเองว่ามหาวิทยาลัยของไทยเราไม่มีความพร้อมในด้านสิ่งแวดล้อม
ครูเชย เมื่อครูเชยแล้ว ถามว่าเด็กอยากไปโรงเรียนไหม แต่ถ้าครูมีเสน่ห์
มีกึ๋น สิ่งแวดล้อมดี มีศิลปวัฒนธรรมที่ดี มหาวิทยาลัยขายอะไร ก็ขาย
’ความคิดสร้างสรรค์’ขายสิ่งที่เรียกว่า ’แรงบันดาลใจ’เพราะฉะนั้น ความคิด
สร้างสรรค์ แรงบันดาลใจ และบรรยากาศ สิ่งเหล่านี้มีในมหาวิทยาลัยไทย
หรือเปล่า ถ้าไม่มีต้องสร้างขึ้นมา นั่นคือสิ่งที่ผมต้องการสร้างขึ้นมา สร้างแรง
บันดาลใจ พอคุณมามหาวิทยาลัยนั่งปุ๊บ แบบไม่ต้องมีคนสอน เด็กก็จะรู้สึกว่า
ดีจังเลย หยั่งรู้ได้ด้วยตัวเอง เรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง สร้างความฝันของตัวเอง”
รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข
แนวคิดและแรงบันดาลใจในการสร้างความสุดยอด
หอแสดงดนตรี “มหิดลสิทธาคาร”
หอแสดงดนตรี “มหิดลสิทธาคาร” ที่ตั้งอยู่ในวิทยาลัย กว่าจะมาเป็นมหิดลสิทธาคาร
ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไม่เพียงแต่อวดโฉม กว่าจะเป็นหอแสดงดนตรีมหิดลสิทธาคารได้นั้น รศ.ดร.สุกรีต้องผ่าน
สถาปัตยกรรมอันสวยงามไม่แพ้โอเปร่าเฮาส์ที่ใดในโลกแล้ว ประสบการณ์ที่ยากล�าบากมาไม่น้อย ”กว่าที่จะได้สิ่งเหล่านี้มาก็ต้องต่อสู้
เบื้องหลังการถือก�าเนิดของสถานที่จัดแสดงดนตรีแห่งนี้ยังมีความน่าสนใจ ด้วยความยากล�าบากมาพอสมควร แต่ผมมองว่าสิ่งเหล่านี้เหมือนมารผจญ
ไม่น้อย เพราะกว่าจะก่อร่างสร้างเป็นหอแสดงดนตรีที่มีความสวยงาม อยากจะนิพพานก็ต้องผ่านมารผจญเป็นเรื่องปกติ ไม่มีอะไรง่ายหรอก
ยิ่งใหญ่ และให้คุณภาพเสียงสุดยอดจนสามารถรองรับการแสดงของ ถ้ามันง่ายคนอื่นก็ท�าไปหมดแล้ว คงไม่มีบุญมาถึงผมหรอก ก็เพราะมันยาก
ศิลปินชื่อดังของโลก และผู้ฟังจ�านวนนับพันคนได้นั้น บุคคลส�าคัญที่ แต่เราก็ควรดีใจที่เรื่องยากๆ มีโอกาสตกมาถึงมือเราด้วยซ�้า หอแสดงดนตรี
อยู่เบื้องหลังการปลุกปั้นให้มหิดลสิทธาคารกลายเป็นจริงขึ้นมาได้ก็คือ แห่งนี้ใช้เวลาคิดอยู่ราว 2 ปี กว่าจะได้แบบ และได้รับโอกาสให้สร้างได้ และ
รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ผู้ก่อตั้ง ผู้อ�านวยการ และคณบดีวิทยาลัย ใช้เวลาในการสร้างอีก 8 ปี รวมกันเบ็ดเสร็จก็เป็น 10 ปีพอดี ที่ต้องใช้เวลา
ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งสามารถบอกเล่าแนวคิดและเรื่องราว นานก็เพราะว่ามีการเปลี่ยนผู้ดูแลรับผิดชอบหลายคน และมีการเปลี่ยนแบบ
ของหอแสดงดนตรีแห่งนี้ได้ดีที่สุด เป็นหอประชุมอเนกประสงค์แทน ซึ่งในเมืองไทยก็มีหอประชุมแบบนี้เป็น
100 แห่ง แทบทุกมหาวิทยาลัยมีหอประชุมอเนกประสงค์กันทั้งนั้น ซึ่งไม่ใช่
สร้างสถาบันการศึกษาที่แตกต่าง สิ่งที่เราต้องการ เพราะเราต้องการสิ่งที่เป็นสุดยอด เรียกว่าคุณไม่ต้องไป
ก่อนเล่าถึงความเป็นมาเป็นไปของหอแสดงดนตรี “มหิดลสิทธาคาร” ปารีส ลอนดอน หรือนิวยอร์กเลย แค่คุณมาศาลายาก็พบสิ่งที่สุดยอดได้
รศ.ดร.สุกรีได้ถ่ายทอดเรื่องราวที่เป็นรากฐานความคิดอันก่อให้เกิดการ ท�าไมสิ่งสุดยอดถึงไปรวมอยู่ที่อื่นหมดล่ะ ท�าไมจะมารวมอยู่ที่ศาลายา
สร้างหอแสดงดนตรีแห่งนี้ขึ้นมาตั้งแต่เมื่อครั้งมีการตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ บ้างไม่ได้”
มหาวิทยาลัยมหิดลในปี 2537 จนกระทั่งกลายเป็นวิทยาลัยทางด้านดนตรี
ที่มีความแตกต่าง และมีเอกลักษณ์อันโดดเด่นเป็นของตนเองในปัจจุบัน “สิ่งที่เราอยากท�าก็คือ ’เมื่อความไพเราะของโลกมาอยู่ที่ศาลายาแม้แต่
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสถานที่ การเรียนการสอน และกิจกรรมต่างๆ เทวดาก็อยากฟัง’ ต่อไปคนทั้งโลกก็จะมาที่นี่ เราไม่ต้องวิ่งหาโลก คนไทยทุกคน
CAT MAGAZINE