Page 29 - CAT Magazine
P. 29

CAT SCOOP / 29

          4    ในการเข้าถึงของยูสเซอร์รายอื่นๆ ให้เหมาะกับงาน และถ้าเกิดกรณี  9  ติดตั้ง SSL (Secure Socket Layer) โดยเฉพาะเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
               ส�าหรับเว็บไซต์ที่มีล็อกอินหลายอัน ผู้ที่เป็นแอดมินหลักต้องดูแลสิทธิ
                                                                      หรือเว็บไซต์ที่ต้องมีการรับส่งข้อมูลส�าคัญ เพราะ SSL หรือมาตรฐาน
          ที่ยูสเซอร์บางรายขออนุญาตเข้าใช้บางฟังก์ชันเป็นกรณีพิเศษ ก็ให้เป็น   การรักษาความปลอดภัยบนระบบอินเทอร์เน็ตนี้จะช่วยเข้ารหัสข้อมูลจาก
          กรณีๆ ไป เมื่อจบงานก็ควรลบสิทธิ์ในการเข้าถึงนั้นๆ ด้วย และอย่าให้สิทธิ์ถึง   จุด A ไปจุด B ซึ่งลดโอกาสการถูกโจมตีระหว่างทาง หรือ Man in the
          ขั้นที่ผู้ใช้งานรายนั้นสามารถเข้ามาเป็นแอดมินของระบบได้ เหล่านี้จะช่วยให้   Middle (MITM) attack ได้
          แอดมินควบคุมเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสามารถตรวจ
          ตราการใช้งานของยูสเซอร์แต่ละรายได้ว่ามีพฤติกรรมการใช้งานอย่างไร    10  เข้าใจเรื่อง File Permissions เราสามารถท�างานกับไฟล์
          เสี่ยงต่อการถูกเจาะระบบหรือไม่ด้วย                              ต่างๆ ได้สามแบบคือ Read, Write และ Execute ซึ่งแทน
                                                                 ด้วยตัวเลข 4, 2 และ 1 ตามล�าดับ ส่วนระดับยูสเซอร์ เบื้องต้นก็แบ่งออก
          5    อย่าตั้งค่า CMS (Content Management System) เป็น Default   ได้เป็นสามแบบง่ายๆ ได้แก่ Owner (เจ้าของ), Group (กลุ่ม) และ Public

                                                                 (ทุกคน) แอดมินระบบต้องมีการจัดการว่ายูสเซอร์แต่ละระดับจะท�าอะไรกับ
               การใช้งานโปรแกรมประเภทจัดการเนื้อหาเว็บไซต์หรือ CMS นั้น
          ควรเข้าไปปรับในส่วนของการควบคุมอื่นๆ ข้างใน เพราะเว็บไซต์ที่ใช้การตั้งค่า   ไฟล์ได้บ้าง เช่น ระดับ Owner อาจอนุญาตให้ Read (4) และ Write (2)
          เริ่มต้นของโปรแกรมเอาไว้นั้นจะมีโอกาสถูกเจาะระบบสูงกว่า  ได้ ยูสเซอร์ระดับ Group อาจ Read (4) ได้อย่างเดียว ส่วนระดับ Public
                                                                 อาจท�าอะไรไม่ได้เลย (0) ผลคือ File Permission จะแสดงตัวเลข 640
          6    เลือก Extension ต่างๆ ให้ดี การเลือกส่วนขยายมาเชื่อมต่อเพิ่มเติม           Write    Read    Execute
               อาจท�าให้เกิดช่องโหว่ได้ เพราะ Extension บางตัวอาจมีผลต่อระบบ
          รักษาความปลอดภัย ดังนั้นการเลือก Extension อาจดูได้จากการอัปเดต    Owner         2         4        0
          ถ้าไม่มีการอัปเดต Extension นั้นๆ เลย ก็เป็นไปได้ว่านักพัฒนาอาจเลิกสนใจ    Group  0        4        0
          Extension ตัวนั้นไปแล้ว  อีกข้อมูลที่ควรสนใจก็คือชื่อของนักพัฒนาว่า   Public     0         0        0
          น่าเชื่อถือแค่ไหน และจ�านวนคนที่ติดตั้ง Extension ตัวนั้นมีมากเท่าไร เพราะ
          นักพัฒนาที่มีประสบการณ์แล้วก็มีโอกาสที่จะตระหนักเรื่องความปลอดภัย
          มากกว่า แต่สิ่งที่ส�าคัญที่สุดคือควรดาวน์โหลด Extension จากแหล่งที่   การเข้าไปเซ็ตค่าตัวนี้จะมีประโยชน์มาก และท�าให้เว็บปลอดภัย ขณะที่
          เชื่อถือได้เท่านั้น                                    บางเว็บอาจแนะน�าให้เซ็ตไว้ที่ 666 หรือ 777 ซึ่งหมายความว่าคุณอนุญาต
                                                                 ให้ “ใครก็ได้” เข้ามาใส่มัลแวร์ในระบบหรือลบไฟล์ในฐานข้อมูลได้นั่นเอง
          7    แบ็กอัปไว้บ้าง เพราะโอกาสที่เว็บไซต์จะเกิดความเสียหายแล้ว   ทั้ง 10 ข้อนี้ อาจเป็นเทคนิคเบื้องต้นที่แอดมินมือใหม่สามารถศึกษาและ
               ได้ตัวแบ็กอัปช่วยไว้ก็มีอยู่มาก
                                                                 ปฏิบัติตามเพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับเว็บไซต์ได้ก็จริง แต่ไม่อาจการันตี
          8   ตั้งค่าใน Server Configuration Files เพิ่มเติม แอดมินควรตั้งค่าใน   ได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ว่าจะไม่ถูกแฮ็ก ดังนั้น ส�าหรับแอดมินมือใหม่ควรหมั่น
              Configuration Files เพื่อป้องกันปัญหาต่างๆ เช่น Prevent directory
                                                                 ติดตามข่าวคราวและศึกษาเทคโนโลยีต่างๆ อยู่เสมอ
          browsing, Prevent imagehotlinking หรือ Protect sensitive files เพื่อ
          ลดโอกาสที่ผู้ไม่ประสงค์ดีจะเข้ามาดูคอนเทนต์ต่างๆ ได้อย่างสะดวก โดยอาจ
          ศึกษาจากหัวข้อ Security เพิ่มเติมก็ได้



                                                     ปกป้องแอปพลิเคชันบนเว็บด้วย
                                                     Web Application Firewall Service
                                              ด้วยความตระหนักถึงภัยคุกคามต่างๆ ที่ก�าลังพุ่งเป้ามาสู่เว็บไซต์ขององค์กร CAT จึงได้พัฒนา
                                              บริการ Web Application Firewall Service บริการป้องกันการโจมตีเว็บไซต์ ที่ให้บริการในรูปแบบ
                                              Security Cloud Service เพื่อให้ลูกค้าลดภาระด้านการลงทุนอุปกรณ์ แต่พร้อมด้วยประสิทธิภาพ
                                              การป้องกันภัยคุกคามจากการโจมตีเว็บไซต์หลากหลายรูปแบบ เช่น การตรวจจับพฤติกรรมการ
                                              ใช้งาน Web Application ที่ผิดปกติ ตอบสนองทุกความต้องการของธุรกิจกับ 2 แพ็กเกจ
                                              ให้เลือกใช้งาน คือ Standard Web Application Firewall และ Advanced Web Application
                                              Firewall โดยสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.catcyfence.com






                                                                                                        CAT MAGAZINE
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34