Page 33 - CAT Magazine
P. 33
CAT VIP 33
ให้นักศึกษาได้เข้าไปมีส่วนช่วยพัฒนาโซลูชันเพื่อน�ามาแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ในพื้นที่จริงเช่นกัน ถือเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียนในลักษณะของ Project Base
Learning โดยมีอาจารย์ท�าหน้าที่เป็นโค้ชคอยให้ค�าแนะน�า ถือเป็นปัจจัยเสริม
เพื่อให้นักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีความเข้มแข็ง และพัฒนาศักยภาพให้กับตนเอง
พร้อมส�าหรับการท�างานได้ทันทีที่เรียนจบ
“ด้วยรูปแบบการเรียนรู้ดังกล่าว ท�าให้การเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยศรีปทุม
เปลี่ยนไป จากการเรียนรู้ในห้องเรียนเพียงเดียว เป็นการเรียนรู้ที่จะท�างานร่วม
กับของนักศึกษาที่เรียนในสาขาต่างๆ เพื่อสร้างโซลูชันที่มีเป้าหมายเดียวกัน ท�าให้
นักศึกษามองเห็นภาพว่าวิชาที่เรียนไปในแต่ละเทอมนั้น สามารถน�าไปใช้งานจริง
ได้อย่างไรบ้าง” ผศ. จิโรจน์เล่าถึงแนวทางการสอนที่มองไปยังเป้าหมายร่วมกัน
เสริมพลังการเรียนรู้จากของจริง
“ก่อนหน้านี้เรามีประสบการณ์การน�าเทคโนโลยีระบบ อาจารย์ทั้ง 3 ท่านระบุเป็นเสียงเดียวกันว่า การที่นักศึกษาได้มีโอกาสพัฒนา
ควบคุมและระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) โครงการที่สามารถน�าไปใช้งานจริงในภาคอุตสาหกรรมและการเกษตรนั้น ท�าให้
ไปประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การเรียนการสอนของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนไป จากเดิมที่อาจารย์
โครงการปลูกผักที่จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยน�ามาใช้ ท�าหน้าที่เป็นผู้ให้ความรู้แก่นักศึกษาเพียงอย่างเดียว แต่ภายใต้การเรียนรู้
เพื่อการควบคุมน�้าและดูสภาพแวดล้อม และใน แบบ Project Base Learning หากนักศึกษามองเห็นเป้าหมายว่า สิ่งที่เขาก�าลัง
อุตสาหกรรมการผลิต เพื่อวัดอุณหภูมิ ความชื้น ซึ่งใน พัฒนาจะเข้าไปช่วยเกษตรกรหรือผู้ประกอบการได้อย่างไรบ้าง จะท�าให้เขามีพลัง
ช่วงนั้นเรายังไม่รู้จักค�าว่า IoT ด้วยซ�้าไป เมื่อได้มี ในการเรียนรู้ และแสวงหาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อน�ามาใช้งานได้ด้วยตัวเอง
ประสบการณ์ในการท�างานร่วมกับธุรกิจหรือผู้ใช้งาน เมื่อนักศึกษามีพลังในการเรียนรู้ เขาก็จะรักในสิ่งที่เรียน
ในพื้นที่จริง ท�าให้มองเห็นว่าบางครั้งการจะน�าสิ่งที่
เรียนรู้หรือมีการท�าการเรียนการสอนในห้องเรียน ขณะที่มหาวิทยาลัยเองก็มีการสนับสนุนพื้นที่ Co-Working Space เพื่อให้
เพียงอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอกับการน�ามาใช้ในพื้นที่ นักศึกษาจากสาขาวิชาอื่นมาระดมสมองท�างานร่วมกัน เพราะการสร้างนวัตกรรม
จริง” มุมมองของ ดร. สุรชัย ในการเติมความรู้ ที่ประสบความส�าเร็จ ไม่ได้มีแค่เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว แต่ต้องอาศัย
องค์ความรู้ด้านอื่นๆ มาประกอบกันไม่ว่าจะเป็น การตลาด การออกแบบผลิตภัณฑ์
ดร. ผิน กล่าวเสริมว่า “เราและเกษตรกรหรือผู้ประกอบ การบริหารธุรกิจ บัญชี มหาวิทยาลัยสนับสนุนให้นักศึกษาที่เรียนต่างสาขา
การอุตสาหกรรมต่างต้องเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพราะ มาเรียนร่วมกันได้เพื่อออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์หรือสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ขึ้นมา
ล�าพังเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถตอบโจทย์
ความต้องการของผู้ใช้ได้ทั้งหมด ต้องมีการศึกษาสภาพ ผศ. จิโรจน์ มองว่านักศึกษาหนึ่งคนไม่จ�าเป็นต้องมีความรู้เพียงศาสตร์เดียว
แวดล้อมหน้างาน และตัวแปรต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง แต่หากได้เรียนรู้หลายด้าน ก็ช่วยให้ท�างานได้ดีขึ้น เช่น คนที่เป็นวิศวกร
ในฐานะของอาจารย์ เราก็น�าประสบการณ์ที่ได้รับไป คอมพิวเตอร์ ถ้ามีความรู้ด้านบัญชีด้วยก็จะช่วยให้สามารถสร้างธุรกิจของตนเอง
ถ่ายทอดให้นักศึกษาในมหาวิทยาลัยด้วยเช่นกัน” ได้ดีขึ้น โดยล่าสุดได้เปิดคณะสหวิทยาการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่เปิด
โอกาสให้นึกศึกษาสามารถเรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองต้องการ และตอบโจทย์ความ
สร้างความเข้มแข็งให้นักศึกษา ต้องการของผู้ประกอบการและการพัฒนาประเทศ
ภายใต้การท�างานในโครงการด้านอุตสาหกรรม
การเกษตรตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา นอกจาก การพัฒนาในอนาคต
อาจารย์จะได้เรียนรู้การน�าไปใช้จริงแล้ว นักศึกษาเอง ไม่ใช่แค่อาจารย์และนักศึกษาเท่านั้น แต่มหาวิทยาลัยศรีปทุมยังไม่หยุดการเป็น
ก็มีโอกาสได้เรียนรู้ด้วย เพราะมหาวิทยาลัยยังเปิดโอกาส สถาบันการศึกษาที่มุ่งน�าเทคโนโลยีมาช่วยยกระดับผู้ประกอบการอุตสาหกรรม
และเกษตรกร เมื่อประเทศไทยก้าวสู่การ
เป็นฮับด้านสุขภาพของภูมิภาคและการเข้ามา
ของสังคมผู้สูงอายุ เทคโนโลยีเพื่อสังคมผู้สูง
อายุและเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ รูปแบบต่างๆ
เช่น การใช้กล้องวิดีโอถ่ายภาพและวิเคราะห์เพื่อ
เก็บสถิติการขยับตัว และการใช้ชีวิตประจ�าวัน
ของผู้สูงอายุ ซึ่งต้องเป็นการท�างานประสานกัน
ระหว่าง IoT การสื่อสารไร้สาย LoRa, Big Data
การวิเคราะห์ข้อมูล, AI ก็เป็นอีกหนึ่งทิศทาง
ที่มหาวิทยาลัยจะก้าวไป
ผศ. จิโรจน์ จริตควร ดร. ผิน ฉัตรแก้วมณี ดร. สุรชัย ทองแก้ว
หัวหน้าสาขาวิชา อาจารย์ อาจารย์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
JANUARY-MARCH 2019 / CAT MAGAZINE