Page 31 - CAT Magazine
P. 31
CAT VIP 31AT VIP 31
C
เมื่อทราบถึงปัญหาทีมอาจารย์จึงได้เริ่มเข้ามาศึกษา
กระบวนการเพาะเห็ดของกลุ่ม ว่ามีขั้นตอนและรูปแบบ
แนวทางการดูแลอย่างไรบ้าง จากนั้นจึงเริ่มน�าเทคโนโลยี
รูปแบบต่างๆ เข้ามาทดลองใช้งานในโรงเพาะ
ผสานภูมิปัญญาการเพาะเห็ดเข้ากับ
เทคโนโลยี IoT
หลังจากได้ศึกษาข้อมูลอย่างรอบด้าน และเรียนรู้เทคนิค
การเพาะเห็ดอย่างถ่องแท้ ทีมอาจารย์จากมหาวิทยาลัย
ศรีปทุมจึงได้ท�าการปรับปรุงโรงเพาะเห็ดใหม่ ในแง่ของ
เทคนิคการเพาะ มีการปรับต�าแหน่งของชั้นวางก้อนเห็ด
เพื่อให้การหมุนเวียนของอากาศและความชื้นกระจาย
ทั่วถึงก้อนเห็ดได้ดีขึ้น ขณะเดียวกันก็ท�าให้สามารถวาง
ก้อนเห็ดได้มากขึ้น จากเดิมวางได้ 12,000 ก้อน เพิ่มขึ้น ภายในโรงเพาะ ซึ่งมีการติดตั้งเซ็นเซอร์ ระบบควบคุม และจัดจัดวางก้อนเห็ดใหม่
เป็นมากกว่า 20,000 ก้อน
ในมุมของเทคโนโลยี มีการน�าอุปกรณ์ต่างๆ มาติดตั้งภายในโรงเพาะ หนึ่งของการใช้งานระบบก็คือ การใช้ระบบ Wi-Fi ในการรับส่งข้อมูล
ไม่ว่าจะเป็นการตั้งเซ็นเซอร์ตรวจวัดความชื้นมาติดตั้งในจุดต่างๆ จากเซ็นเซอร์ต่างๆ ขึ้นสู่ระบบประมวลผลหลักที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
ของโรงเพาะ ติดตั้งระบบควบคุมแสงสว่าง ระบบการพ่นน�้า และระบบ มีข้อจ�ากัด ไม่สามารถกระจายสัญญาณได้ไกล หากต้องขยายระบบ
ควบคุมพัดลมดูดอากาศ ชุดอุปกรณ์ควบคุม ที่ช่วยให้สามารถติดตาม ไปยังโรงเรือนหลังอื่นๆ อาจต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์ขยายสัญญาณ
ดูค่าอุณหภูมิภายในโรงเพาะ อุณหภูมิภายนอก และค่าความชื้นได้ เพิ่มขึ้น หรือต้องตั้งจุดกระจายสัญญาณ Wi-Fi หลายจุดเพื่อให้
อย่างง่ายดายผ่านแอปพลิเคชัน Line ในสมาร์ตโฟนที่เกษตรกร ครอบคลุมพื้นที่การใช้งาน ท�าให้เกิดความยุ่งยาก และต้องลงทุนสูงขึ้น
ส่วนใหญ่คุ้นเคยอยู่แล้ว ท�าให้คุณพันธกานต์สามารถดูแลฟาร์มเห็ด
ได้สะดวกยิ่งขึ้น แม้อยู่นอกสถานที่ก็ยังสามารถติดตามและดูแล ทีมงานจึงต้องมองหาเทคโนโลยีใหม่ เพื่อมาทดแทน Wi-Fi จนมา
โรงเพาะได้ พบกับบริการ LoRa IoT by CAT ซึ่งใช้เทคโนโลยี LoRaWAN
เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูล CAT ก็ให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่
เหตุผลที่เลือกใช้แอปพลิเคชัน Line แทนการพัฒนาแอปพลิเคชัน ทั้งในแง่เทคนิคและอุปกรณ์
เฉพาะให้มีฟังก์ชันการควบคุมและแสดงผลที่อลังการและสวยงาม
เพราะจากการได้คลุกคลีกับเกษตรกร ท�าให้มองเห็นว่า การเลือก ตอบโจทย์ด้วยเทคโนโลยี LoRaWAN
ที่จะใช้แอปพลิเคชัน Line เป็นสื่อกลางในการดูแลฟาร์มเห็ดด้วย “LoRa IoT by CAT สร้างประโยชน์มากมาย เพราะติดตั้งจุดใช้งาน
เทคโนโลยี IoT เป็นทางเลือกที่เหมาะสมกว่า เพียงจุดเดียวก็สามารถครอบคลุมโรงเรือนทั้งหมดในฟาร์มเพาะเห็ด
พื้นที่ 6 ไร่ได้เลย ต้องขอบคุณทีมอาจารย์จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม
แม้การปรับปรุงโรงเพาะและน�าระบบ IoT เข้ามาประยุกต์ใช้งาน และ CAT ที่น�าเทคโนโลยีดีๆ มาให้เกษตรกรได้ทดลองใช้งาน”
ดังกล่าวจะช่วยให้ผลผลิตเห็ดของคุณพันธกานต์ดีขึ้นมาก แต่ปัญหา คุณพันธกานต์เล่าถึงความประทับใจ
ข้อคิดดีๆ ถึงเกษตรกรยุคดิจิทัล
คุณพันธกานต์ ฝากข้อคิดถึงเกษตรกรที่สนใจน�าเทคโนโลยีมาใช้
ว่า “เมื่อน�ามาใช้ถูกทาง เทคโนโลยีก็จะมอบสิ่งดีๆ ให้เรามากมาย ช่วย
อ�านวยความสะดวกและเพิ่มผลผลิตให้กับเกษตรกรไทยได้ ยิ่งน�ามา
ประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาที่มีอยู่แล้วของเกษตรกรไทย และได้ท�างาน
ร่วมกับทีมงานที่เข้ามาศึกษาเรียนรู้อย่างจริงจัง ก็จะช่วยเกษตรกรไทย
พัฒนาศักยภาพของตนเองไปได้อีกมาก”
คุณพันธกานต์และกลุ่มเพาะเห็ดเศรษฐกิจต�าบลศาลาลอย
อ�าเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถือเป็นกรณีศึกษา
ที่น่าสนใจของเกษตรกรที่ใฝ่รู้ ซึ่งประสบความส�าเร็จจากการ
ก้าวสู่เกษตรกรยุค Smart Farming ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นเกษตรกร
รุ่นใหม่หรือรุ่นเก่า หากเปิดใจที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ขวนขวาย
ใฝ่หาความรู้ตลอดเวลา ก็จะเป็นการเปิดโอกาสให้กับตนเอง
อีกมากมาย
JANUARY-MARCH 2019 / CAT MAGAZINE