Page 45 - CAT Magazine
P. 45
TECH UPDATE / 45
ซึ่งเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาของชาวนาไทย โดยจะปล่อยให้ข้าวขาดน�้าในช่วงเวลา
ที่เหมาะสม เพื่อเป็นการกระตุ้นให้รากและล�าต้นข้าวแข็งแรงส่งผลโดยตรง
ต่อการเจริญเติบโต และการสร้างผลผลิต โดยเริ่มต้นจากการขังน�้าในแปลงนา
ที่ระดับความลึก 5 ซม. ในช่วงหลังปักด�าจนกระทั่งข้าวอยู่ในช่วงตั้งท้อง
ออกดอก จึงจะเพิ่มระดับน�้าในแปลงอยู่ที่ 7-10 ซม. จากนั้นจะปล่อยให้ข้าว
ขาดน�้าครั้งที่ 1 ในช่วงการเจริญเติบโตทางล�าต้น หรือข้าวมีอายุประมาณ
35-45 วัน เป็นเวลา 14 วัน หรือจนกว่าระดับน�้าในแปลงลดลงต�่ากว่า
ผิวแปลง 10-15 ซม. หรือดินในแปลงนาแตกระแหง จากนั้นถึงปล่อยน�้า
เข้านา จนกระทั่งข้าวแตกกอสูงสุด หรือข้าวอายุประมาณ 60-65 วัน ก็จะปล่อย
ให้ข้าวขาดน�้าครั้งที่ 2 เป็นระยะเวลาอีก 14 วัน
การท�านาแบบนี้ต้องการความเอาใจใส่ และต้องมีการควบคุมน�้าในแปลงนา
ให้ได้ระดับตามที่ก�าหนดไว้ นั่นจึงท�าให้ระบบการควบคุมน�้าโดยใช้เทคโนโลยี
IoT มีความเหมาะสมและมีประโยชน์อย่างยิ่ง
เทคโนโลยีการวิเคราะห์ภาพ เพื่อการดูแลพรรณพืช
อย่างรวดเร็ว
นอกเหนือจากโซลูชันด้าน IoT แล้ว หนึ่งในแนวคิดการน�าเทคโนโลยีมาช่วย
วิเคราะห์การเติบโต และสุขภาพของพรรณพืชในแปลงเพาะปลูก แทนการเดิน
สังเกตสีของใบหรือความสูงของล�าต้นก็คือ การน�าเทคโนโลยีการประมวลผล
ภาพ (Image Processing) มาประยุกต์ใช้
หนึ่งในตัวอย่างที่มีการใช้งานในประเทศไทยก็คือ การใช้โดรนถ่ายภาพแปลง
เพาะปลูก และพัฒนาโซลูชันการประมวลผลภาพเพื่อวิเคราะห์สุขภาพของพืช
ในแปลงเพาะปลูก โดยดูจากสีของใบพืช หรือการติดตั้งกล้องในแปลงเพาะ
ปลูกเพื่อตรวจสอบความสูงของพืช เป็นต้น
บทบาทของ CAT ในการพัฒนา Smart Farm
ในฐานะของผู้น�าด้านเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมของประเทศ CAT
เองก็มีบทบาทในการพัฒนาภาคการเกษตรของไทยด้วยเช่นกัน โดยโครงการ
ล่าสุดนั้น CAT ร่วมสนับสนุนการน�า IoT มาใช้ในแปลงเกษตรกรผู้ร่วม
โครงการปลูกผักปลอดภัยสารพิษ บ้านสว่างซ�าโอง ต�าบลห้วยเตย อ�าเภอซ�าสูง
จังหวัดขอนแก่น โดยมีการน�าโดรนและหุ่นยนต์มาสาธิตเพื่อให้เกษตรกร
ได้เห็นและรับรู้เกี่ยวกับการน�าเทคโนโลยีมาช่วยลดระยะเวลาการท�างาน
ตัวอย่างการน�าไปใช้งานจริงทางภาคเหนือของประเทศไทย โดยมหาวิทยาลัย ลดต้นทุนและลดปัญหาขาดแคลนแรงงาน ซึ่งเป็นหนึ่งในความท้าทายที่
แม่โจ้ เช่น การสร้างระบบการติดตาม เก็บข้อมูล และควบคุมสภาพแวดล้อม เกษตรกรไทยประสบอยู่ในปัจจุบัน
ในโรงเรือนเพาะเห็ดและแปลงนา โดยติดตั้งเซ็นเซอร์ต่างๆ ไว้ จากนั้น
เซ็นเซอร์จะส่งข้อมูลระยะไกลไปยังตัวรับผ่านคลื่นวิทยุแทนการใช้ นอกเหนือจากเทคโนโลยีที่กล่าวไปแล้ว การก้าวสู่ Smart Farmer ของ
เครือข่ายไร้สาย ซึ่งให้ระยะการส่งสัญญาณไกลกว่ามาก โดยระบบสามารถ เกษตรกรในปัจจุบันยังสามารถท�าได้ง่ายๆ และไม่จ�าเป็นต้องลงทุนมากมาย
แจ้งและเก็บข้อมูลที่จ�าเป็นส�าหรับการเพาะปลูกเพื่อใช้ในการปรับปรุงและ อะไร เพียงเริ่มต้นน�าเทคโนโลยีออนไลน์ต่างๆ และโซเชียลเน็ตเวิร์ก
พัฒนาการเพาะปลูกในอนาคต มาประยุกต์ใช้ในการสร้างช่องทางประชาสัมพันธ์ และประสานการท�างาน
ของเกษตรกร
ระบบวัดระดับควบคุมการจ่ายน้ำ ในแปลงนาข้าว
ตัวอย่างในแปลงนานั้น น�าไปประยุกต์ใช้กับวิธีการปลูกแบบแกล้งข้าว เรียกว่า Smart Farmer สามารถเริ่มได้จากปลายนิ้วของเกษตรกรนั่นเอง
CAT MAGAZINE