Page 15 - CAT Magazine
P. 15

CAT NEWS / 15


                                           CAT ผนึกจุฬาฯ พัฒนา IoT

                              สร้าง Smart City ต้นแบบแห่งแรกในกรุงเทพฯ





                   Smart City เป็นอีกเป้าหมายส�าคัญของรัฐบาลเพื่อก้าวสู่   CAT ในฐานะหน่วยงานที่ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานในด้านการสื่อสาร
                   ไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งจะก่อให้เกิดผลดีต่อการพัฒนาประเทศใน   โทรคมนาคมของประเทศมาอย่างยาวนาน จึงน�าระบบเครือข่ายการสื่อสาร
                   หลากหลายด้าน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   มาตรฐานโลกอย่าง LoRaWAN (LoRa Wide Area Network) ซึ่งมีความ
          และ CAT จึงได้ลงนามในบันทึกความร่วมมือการศึกษาและพัฒนาระบบ  สามารถในการเชื่อมโยงอุปกรณ์ IoT เข้าด้วยกันมาใช้เป็นแพลตฟอร์มกลาง
          โครงข่ายสารสนเทศและการสื่อสาร โดยน�าศักยภาพของทั้งสองหน่วยงาน  เพื่อสนับสนุนการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์และผู้ใช้งานในระดับต่างๆ เนื่องจาก
          ที่มีอยู่มาร่วมกันพัฒนา IoT (Internet of Things) เพื่อสนับสนุนการสร้าง   เป็นระบบที่ติดตั้งง่าย ไม่ซับซ้อน ประหยัดแบตเตอรี่ และใช้แบนด์วิดท์ต�่า
          Smart City ต้นแบบแห่งแรกของกรุงเทพฯ ให้เกิดขึ้นบนพื้นที่ทั้งหมดของ
          จุฬาฯ ทั้งภายมหาวิทยาลัยและบริเวณพื้นที่โดยรอบด้วยมุ่งหวังที่จะน�าไป  ผลที่ตามมาจากความร่วมมือกันในครั้งนี้ก็คือความสามารถในการติดตาม
          ขยายผลสู่พื้นที่ต่างๆ ของประเทศ                        จัดเก็บเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อน�ามาประมวลผล วิเคราะห์ สังเคราะห์ แล้วน�าไป
                                                                 พัฒนาการใช้งานเพื่อบริหารจัดการในเรื่องต่างๆ ให้เกิดมีประสิทธิภาพและ
          ความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคือนวัตกรรมและแอปพลิเคชัน   รวดเร็วขึ้น รวมทั้งยังเป็นการสนับสนุนทั้งทางตรงและทางอ้อมให้กับอาจารย์
          ด้าน IoT ที่มีอยู่มากมายจากการวิจัยและประดิษฐ์คิดค้นโดยคณาจารย์และ  และนิสิตของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาคิดค้นและต่อยอดนวัตกรรมต่างๆ
          นิสิตในภาคส่วนต่างๆ เช่น การติดตาม ตรวจสอบและเก็บข้อมูลสภาพอากาศ   เพิ่มขึ้นด้วย
          การจราจร การติดตามบุคคล การจัดการขยะ ฯลฯ
                                                                 การน�าจุดแข็งของทั้งสองหน่วยงานมาร่วมกันเช่นนี้ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งก้าว
          ทว่าผลงานเหล่าอันมีค่าเหล่านั้นสร้างขึ้นอยู่บนแพลตฟอร์มที่มีความ   ส�าคัญแห่งการสร้างสรรค์สิ่งดีๆ เพื่อสังคมไทย
          แตกต่างกัน ท�าให้ไม่สามารถเชื่อมต่อสื่อสารกันได้อย่างเป็นระบบและ
          น�ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ผลก็คือมีข้อจ�ากัดในเรื่องพื้นที่ในการ
          ใช้งานที่ไม่ครอบคลุม































                                                    รศ.ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                    และคุณชัยยุทธ สันทนานุการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและการขาย CAT
                                                    ร่วมลงนามในบันทึกความร่วมมือการศึกษาและพัฒนาระบบโครงข่ายสารสนเทศและการสื่อสาร
                                                    ณ ห้องประชุม i-Think คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



                                                                                                        CAT MAGAZINE
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20