Page 41 - CAT MAGAZINE VOL 14 No. 46 YEAR 2016 OCTOBER-DECEMBER
P. 41
MARKETING
ป้ายโฆษณา เอเจนซียักษ์ใหญ่อย่าง M&C Saatchi ใน
AI กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ดึงเทคโนโลยี
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
มาสู่วงการโฆษณาสร้างเป็นบิลบอร์ดอัจฉริยะ
ที่สามารถน�าเสนอโฆษณาที่ปรับเปลี่ยน
รูปแบบได้ด้วยตัวเอง โดยทาง M&C Saatchi เปรียบเทียบว่าแคมเปญ
ดังกล่าวนี้ถือเป็นวิวัฒนาการเพื่อความอยู่รอดของวงการสื่อนอกบ้าน
เลยทีเดียว
บิลบอร์ดดังกล่าวได้จ�าลองเรื่องราวของกาแฟแบรนด์หนึ่งขึ้นมา จากนั้น
ก็ใช้โฆษณาชิ้นนี้ดึงดูดผู้คน และวิเคราะห์คนเหล่านั้นผ่านทางสีหน้า
ท่าทาง เช่น พวกเขาดูมีความสุข เศร้า หรืออยู่ในอารมณ์ธรรมดาๆ แต่ที่
มากไปกว่านั้นคือเบื้องหลังการพัฒนาโฆษณาเรื่องนี้มีการใช้ขั้นตอนวิธี
เชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm) ซึ่งเป็นการเลียนแบบกระบวนการ หมึกพิมพ์
“วิวัฒนาการ” ตามธรรมชาติ เพื่อพัฒนาวิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา โซลาร์เซลล์
โดยทีมงานจะน�ากระบวนการนี้มาใช้ในการพิจารณาว่า เทคนิคใดใน
โฆษณาที่ประสบความส�าเร็จสามารถท�าให้ผู้บริโภคสนใจได้ ส่วนเทคนิค
ตัวใดที่ไม่ประสบความส�าเร็จในการดึงดูด หรือสร้างการมีส่วนร่วมกับ สิ่งพิมพ์ก็เป็นอีกหนึ่งวงการที่ถูกคุกคามจากสื่อดิจิทัลอย่างรุนแรงเช่นกัน
ผู้บริโภคก็จะถูกคัดออกไปด้วยตัวป้ายเอง นวัตกรรมที่น่าจะเป็นทางรอดหนึ่งของสื่อสิ่งพิมพ์ก็คือการคิดค้นหมึกพิมพ์
ชิ้นใหม่ที่สามารถท�าหน้าที่เป็นโซลาร์เซลล์ได้ในตัว นวัตกรรมดังกล่าวเป็น
ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm – GA) เป็นเทคนิคทาง ผลการค้นคว้าวิจัยของทีมนักวิจัยจาก Aalto University ประเทศฟินแลนด์
ปัญญาประดิษฐ์อย่างหนึ่งที่ใช้ในการค้นหา การเพิ่มประสิทธิภาพ และ โดยพัฒนาต่อยอดมาจากโซลาร์เซลล์แบบสีย้อมไวแสง (Dye - Sensitized
การเรียนรู้ ด้วยการเลียนแบบทฤษฎีการวิวัฒนาการทางธรรมชาติ โดยมี Solar Cell) ที่มีการพัฒนามายาวนานกว่า 10 ปีแล้วนั่นเอง
จุดเด่นคือความสามารถในการป้องกันความผิดพลาดต่างๆ ด้วยการค้นหา
ค�าตอบจากแหล่งข้อมูลที่มีความซับซ้อนและยากที่จะสร้างแบบจ�าลองด้วย โซลาร์เซลล์แบบสีย้อมไวแสงนี้จะเป็นการน�าโลหะออกไซด์ เช่น TiO2
สมการคณิตศาสตร์ เนื่องจากเป็นกระบวนการค้นหาที่ไม่มีความเฉพาะ (ไททาเนียมออกไซด์) มาใช้เป็นวัสดุในการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์
เจาะจงกับแบบจ�าลองหรือลักษณะเฉพาะของข้อมูลแบบใดแบบหนึ่ง เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยโซลาร์เซลล์แบบย้อมสีไวแสงนี้จะมีต้นทุนการผลิต
ถูกกว่าโซลาร์เซลล์แบบซิลิคอนที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบันมาก ที่ผ่านมา
ด้วยเหตุนี้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมจึงถูกน�ามาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โซลาร์เซลล์แบบย้อมสีไวแสงนี้จะเป็นการท�าในห้องทดลองและมี
ได้หลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การจัดตารางเวลา การออกแบบระบบควบคุม กระบวนการหลายขั้นตอนชนิดที่คนธรรมดาคงไม่สามารถท�าด้วยตัวเองได้
อัตโนมัติ และการพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ที่สามารถเรียนรู้จาก
สภาพแวดล้อมได้ แต่สิ่งที่ทีมนักวิจัยจากประเทศฟินแลนด์ก�าลังพัฒนาอยู่คือการสร้าง
AI ท�าให้ป้าย หมึกพิมพ์ TiO2 ที่สามารถพิมพ์ข้อความ ตัวอักษร หรือรูปภาพ ด้วย
คิดได้ว่าจะแสดง เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ตลงบนวัสดุน�าไฟฟ้า เพื่อเปลี่ยนให้สิ่งพิมพ์ในอนาคต
ภาพยนตร์โฆษณา
รูปแบบใด มีมูลค่าเพิ่มได้อย่างไม่น่าเชื่อ
ลองคิดดูว่าหากนิตยสาร หนังสือพิมพ์ หรือป้ายบิลบอร์ดในอนาคตใช้
หมึกพิมพ์นี้ นอกจากจะเป็นช่องทางในการโฆษณาแล้ว สิ่งพิมพ์ดังกล่าว
ยังถูกน�ามาใช้เป็นแผงโซลาร์เซลล์ได้ด้วย นี่คงเป็นสื่อโฆษณาที่ใครๆ
ก็อยากเป็นและอยากเก็บไว้ได้นานๆ
แม้จะอยู่ในขั้นตอนการวิจัยและการทดสอบ แต่โซลาร์เซลล์ย้อม
สีไวแสง และป้ายโฆษณา AI ก็น่าจะเป็นอีกหนึ่งทิศทางของการใช้
สื่อโฆษณาในอนาคต
39
CAT MAGAZINE 39