Page 33 - CAT MAGAZINE VOL 14 No. 46 YEAR 2016 OCTOBER-DECEMBER
P. 33

CAT VIP





 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต                                                           ในแง่ของประโยชน์ที่มหาวิทยาลัยและผู้ใช้งาน
                                                                                   ได้รับ ดร.พิทา กล่าวว่าผลจากการมีโครงสร้าง
                                                                                   พื้นฐานด้านระบบเครือข่ายที่รวดเร็วขึ้นท�าให้
 ก้าวสู่การเป็น                                                                    การด�าเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยฯ

                                                                                   มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

                                                                                   “เนื่องจากระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
                                                                                   และการเรียนการสอนมีความเร็ว เสถียร และ
                                                                                   ครอบคลุม  ซึ่งสร้างความมั่นใจต่อบุคลากร
                                                                                   นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีต่อมหาวิทยาลัย
           “พันธกิจ คือ 1) จัดหา เผยแพร่ และให้บริการสารสนเทศ ในรูปแบบที่  ขณะเดียวกันบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย และนักศึกษาต่างก็มีความ
           หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ 2) พัฒนาระบบ  พึงพอใจต่อบริการต่างๆ ของมหาวิทยาลัย และอินเทอร์เน็ตที่มีความเร็ว
           เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัย และ   มากขึ้น”
           3) พัฒนาทักษะทางภาษาต่างประเทศให้กับนักเรียน บุคลากร และท้องถิ่น”
                                                                  การยอมรับในระดับนานาชาติ
           ในปัจจุบันส�านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ประยุกต์ใช้   บทพิสูจน์ประการหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่ดีของโครงการปรับปรุง
           ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนทางด้านการบริหารจัดการ และการเรียน  ระบบสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตก็คือ
           การสอนมากมาย โดยพัฒนาระบบทั้งในด้านความเสถียร ความเร็ว    รายงานจาก Webometrics Ranking of World Universities จัดท�าโดย
           ความครอบคลุม ความมั่นคงปลอดภัย เป็นระยะเพื่อให้การใช้ระบบ  Cybermetrics Lab หรือ  Internet Lab ซึ่งเป็นกลุ่มวิจัยของสภาวิจัย
           สารสนเทศเหล่านั้นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และสามารถตอบสนอง   แห่งชาติ ประเทศสเปน ที่จะประกาศผลการจัดอันดับเว็บไซต์ 2 ครั้งต่อปี
           ต่อยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยได้                         ผ่านทางเว็บไซต์ www.webometrics.info โดยการประกาศผลเมื่อเดือน
                                                                  กรกฎาคม 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้รับการจัดอันดับให้เป็น
           การพัฒนาระบบไอที                                       มหาวิทยาลัย e-University คุณภาพอันดับที่ 12 ของกลุ่มมหาวิทยาลัย
           “การน�าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ  ราชภัฏในประเทศไทยทั้งหมด 38 แห่ง (เดิมอยู่ล�าดับที่ 25 ในปี 2558) และ
           ภูเก็ต มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การบริหารจัดการและการเรียนการสอนของ  อยู่ล�าดับที่ 54 ของมหาวิทยาลัยทั่วประเทศจ�านวน 179 แห่ง
           มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมีประสิทธิภาพ และเป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณะ
           ซึ่งจ�าเป็นที่จะต้องใช้ศาสตร์และศิลป์ในการประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อ  ล�าดับจาก Webometrics ถือเป็นเว็บไซต์จัดล�าดับ e-University ที่ได้รับการ
           ให้การด�าเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  ยอมรับจากสถาบันการศึกษาจากทั่วโลก ส�าหรับล�าดับของมหาวิทยาลัย
           และการสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ตามก�าหนด”               ราชภัฏภูเก็ตที่ก้าวกระโดดจากการจัดล�าดับครั้งที่ผ่านๆ มานั้น เนื่องจาก
                                                                  การพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลด้านไอที และการประชาสัมพันธ์
           ด้วยความเข้าใจทั้งเรื่องเทคโนโลยี ระเบียบขั้นตอน และคน การพัฒนา  ข้อมูลข่าวสารเชิงรุกอย่างมีระบบ เช่น การพัฒนาเนื้อหาที่หลากหลาย
           บริหารจัดการโครงข่ายและระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ  การท�า SEO และการพัฒนาเว็บไซต์ในองค์กร พร้อมด้วยความร่วมมือ
           ภูเก็ตจึงได้ใช้วิธีเช่าอุปกรณ์ควบคุมเส้นทางระบบเครือข่าย (Router) และ  จากทุกภาคส่วนในองค์กร
           สัญญาณอินเทอร์เน็ตจาก CAT ที่มีความครอบคลุมและเสถียรของโครงข่าย
           เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระการใช้งาน UniNet ซึ่งเป็นช่องสัญญาณอินเทอร์เน็ต  โครงการปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบเครือข่ายในครั้งนี้
           ที่ใช้งานอยู่แล้ว รวมถึงเป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบเครือข่าย   นอกจากจะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพให้มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตแล้ว
           ของมหาวิทยาลัยในอนาคตอันใกล้                           ยังจะเป็นตัวอย่างด้านการน�าเอาเทคโนโลยีประยุกต์ใช้ด้านการศึกษาของ
                                                                  สถาบันการศึกษาในเขตอันดามัน เพื่อรับมือกับความท้าทาย และเปิด
           แน่นอนว่าการด�าเนินงานต่างๆ โดยเฉพาะการเป็นองค์กรรัฐย่อมมีปัญหา  โอกาสด้านการศึกษาที่ขยายขอบเขตไปทั่วโลก
           และอุปสรรคเกิดขึ้น แต่ก็สามารถฝ่าฟันและผ่านพ้นได้ “กฎระเบียบของ
           หน่วยงานภาครัฐที่ขาดความยืดหยุ่น รวมถึงปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมองค์กร   ก้าวต่อไปของการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับมหาวิทยาลัย
           ซึ่งก็เป็นปัญหาที่พบเห็นได้ทั่วไปในหน่วยงานภาครัฐ การแก้ไขปัญหาจึง  ราชภัฎภูเก็ตที่อยู่ในเมืองน�าร่องด้านไอทีของประเทศคงมุ่งหน้าและส�าเร็จ
           ต้องใช้ความละเอียดรอบคอบในการด�าเนินการ เพื่อให้การด�าเนินงาน   ตามเป้าหมายองค์กรที่วางไว้ต่อไป  เพราะความภาคภูมิใจที่สุดของผู้บริหาร
           มีความโปร่งใส และเป็นที่ยอมรับของผู้บริหารระดับสูงมากที่สุด”  ไอทีอย่าง ดร. พิทา ก็คือ “การได้ท�างานและสร้างความสุขให้กับผู้อื่น”



                                                                                                      CAT MAGAZINE  31
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38