Page 31 - CAT MAGAZINE VOL 14 No. 46 YEAR 2016 OCTOBER-DECEMBER
P. 31
CA
CAT VIPT VIPT VIP
CA
คุณนิรันดร์ กล่าวถึงเป้าหมายหลักของบิ๊กโฟร์ว่า “เรามุ่งเป็นผู้ประกอบการ ต้นก�ำเนิดของระบบ OTA ในเมืองไทยและก้ำวต่อไป
ด้านโครงข่ายตามประกาศของ กสทช. และให้บริการท�าระบบ OTA ให้กับ “ตั้งแต่ท�างานกับ CAT มาเกือบ 3 ปีแล้วก็ถือว่าท�างานร่วมกันได้ดีมาก
ผู้ประกอบการด้านจานดาวเทียมทั้ง 4 รายที่เป็นหุ้นส่วนของบริษัทเป็นหลัก โดยเฉพาะทีมงาน CAT ที่แคลาย บางครั้งมีอุปสรรคหรือไม่เข้าใจในบาง
ท�าหน้าที่ส่งสัญญาณผ่านระบบ OTA ไปให้กับผู้จ�าหน่ายกล่องดาวเทียม เรื่อง ทางทีมของ CAT ก็พยายามหาค�าตอบให้ มาช่วยสนับสนุน ความจริง
ของทั้ง 4 ยี่ห้อ เป้าหมายแรกเราท�าเรื่องระบบ OTA โดยเฉพาะ และเช่า แล้วต้องบอกว่าระบบ OTA ของประเทศไทยที่เกิดขึ้นได้จนถึงทุกวันนี้ส่วน
แบนด์วิดท์จาก CAT เดิมผู้ประกอบการทั้ง 4 รายต่างคนต่างก็เช่าแบนด์วิดท์ หนึ่งก็ต้องยกเครดิตให้ทีมงานฝ่ายเทคนิคของ CAT ที่แคลายนี่เอง เราและ
จาก CAT กันอยู่แล้ว แต่จะมีขนาดของแบนด์วิดท์ใหญ่บ้างเล็กบ้าง ทีมงานถือเป็นต้นก�าเนิดของระบบ OTA ในเมืองไทยก็ว่าได้”
แตกต่างกันไปแต่พอตั้งเป็นบิ๊กโฟร์ขึ้นมาก็จะเข้าไปท�าหน้าที่เจรจาเรื่องการ
เช่าแบนด์วิดท์กับ CAT แทน” “ปัจจุบันบริษัทมีการเช่าแบนด์วิดท์ขนาด 2 Mbps จาก CAT เพื่อท�า OTA
แม้ความจริงแล้วการท�า OTA ใช้แบนด์วิดท์ขนาด 1 Mbps ก็เพียงพอ
จุดดีข้อแรกของการเป็นบิ๊กโฟร์ก็คือ อย่างน้อยผู้ประกอบการทั้ง 4 ราย แต่บิ๊กโฟร์แซทเทิลไลท์มองว่าเช่าความเร็ว 2 Mbps ไปเลยจะดีกว่า
มีโอกาสได้มาเจอกันทุกเดือน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้ เหมือนเช่าช่องทีวีดาวเทียมหนึ่งแบนด์วิดท์ไปแบ่งกันในส่วนของการท�า
ใหม่ๆ ข้อที่สองก็คือเป็นการลดอุณหภูมิในการแข่งขันลงไป ข้อที่สามลด OTA ส�าหรับ C-Band และหากในอนาคตถ้า CAT ให้บริการแบนด์วิดท์
ต้นทุนลง ไม่ต้องจ่ายเงินแบบเบี้ยหัวแตกเหมือนตอนที่แยกกันอยู่เป็น ในย่าน KU-Band เราก็อาจจะขอเช่าเพิ่มเติมเพื่อสร้างแบนด์วิดท์
4 บริษัท ในส่วนของงานด้าน OTA ก็เป็นการรวมศูนย์เข้าด้วยกันเป็นโครงข่าย อีกท่อหนึ่งส�าหรับให้บริการลูกค้า รวมถึงเมื่อดาวเทียมไทยคม 8 ถูกปล่อย
OTA ของบิ๊กโฟร์ และในอนาคตอาจจะมีโครงการขยายไปท�าธุรกิจอื่นๆ อีก ขึ้นสู่วงโคจรแล้ว ถ้าหาก CAT มีการเช่าช่องสัญญาณจากไทยคมเพื่อ
เอามาให้บริการกับช่องต่างๆ เราก็ยินดีขยายความร่วมมือเพิ่มขึ้น”
“ในระยะหลังเราก็เริ่มมานั่งคุยกันมากขึ้นไม่เฉพาะกลุ่มของบิ๊กโฟร์เท่านั้น
แต่เรายังรวมกลุ่มกันเป็นสมาคมเครือข่ายไม่ว่าจะเป็น PSI, IPM, DTV หรือ ท�ำงำนใกล้ชิดลูกค้ำและสร้ำงควำมท้ำทำยให้ตัวเอง
RS ก็เข้ามาร่วมกันและพูดคุยในเรื่องต่างๆ เพราะในฐานะผู้ประกอบการ มาถึงวันนี้คุณนิรันดร์กล่าวถึงสไตล์การบริหารงานของตนเองว่า
แล้วการรวมตัวกันเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งกับอุตสาหกรรมเป็นสิ่งจ�าเป็น “ผมถูกสอนมาเรื่องการตลาดว่าให้ดูก่อนเลยว่าลูกค้าต้องการอะไร แล้วก็
เพื่อจะได้เกิดการต่อยอดต่อไป ต้องเข้าใจก่อนว่าตอนนี้เรามีเค้กอยู่แค่ เอาความต้องการนั้นมาสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าของเรา ตัวผมเอง
1 ก้อนจะท�ายังไงให้เค้กก้อนนี้ขยายเป็นเค้ก 1.5-2 ก้อน เพราะแม้ว่า มักจะลงไปคลุกคลีกับลูกค้าเองอยู่เสมอ เวลาที่ลูกค้ามีงานส�าคัญๆ อะไร
แต่ละรายได้เปอร์เซ็นต์เท่าๆ เดิม แต่ถ้าเราสามารถขยายขนาดของตลาดได้ ผมก็มักจะเดินทางไปร่วมงานกับเขา การอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้าก็ท�าให้เราเข้าใจ
เราก็จะมีรายได้เพิ่มมากขึ้น” ได้ดีว่าลูกค้าต้องการอะไร สไตล์การบริหารของผมไม่ได้เป็นประเภท
นั่งสั่งงานอยู่บนหอคอยอย่างเดียว เราจะเอาความต้องการของลูกค้ามา
ควำมท้ำทำยของทีวีดำวเทียมยุคดิจิทัล ปรับปรุงสินค้า การบริการ และกิจการของเราให้ดีขึ้น”
ในกรณีของดิจิทัลทีวีที่ กสทช. ก�าลังผลักดันอยู่นั้นในปี 2558 ค่อนข้างมีผล
กระทบต่อตลาดกล่องดาวเทียมอย่างมาก เพราะเมื่อ กสทช. ประกาศว่าจะ ส่วนการบริหารทีมขายและพนักงานคุณนิรันดร์จะปลูกฝังแนวทางการ
แจกกล่องทีวีดิจิทัลก็ท�าให้ก�าลังซื้อหยุดชะงักทันที ลูกค้าหยุดซื้อของเพราะ ท�างานให้พนักงานทุกคนยึดหลัก ‘ขยัน ซื่อสัตย์ และพอเพียง’ เวลามีการ
ไม่เข้าใจว่ากล่องทีวีดิจิทัลแตกต่างจากกล่องดาวเทียมอย่างไร ครึ่งปีแรกของ ประชุมกับพนักงาน คุณนิรันดร์จึงมักจะพูดถึงเรื่องนี้อยู่เสมอว่าต่อให้มีความ
ปี 2558 ถือเป็นช่วงเวลาที่ยากล�าบากทีเดียวส�าหรับผู้ประกอบการดาวเทียม ขยันแค่ไหน ก็ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ต่อบริษัท และต่อลูกค้าด้วย
แต่พอครึ่งปีหลังที่มีการแจกกล่องไปแล้ว ลูกค้าบางส่วนเริ่มเห็นว่าดิจิทัล “การใช้จ่ายเงินอย่างพอเพียงก็ต้องมี เพราะถ้าขยัน ซื่อสัตย์แล้วได้เงิน
ทีวียังไม่ใช่ค�าตอบ ลูกค้าจึงหันมาซื้ออุปกรณ์ตัวที่สองอย่างกล่องดาวเทียม ตอบแทนจากบริษัทไปเยอะ แต่เอาเงินไปใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ไม่รู้จักพอเพียงก็
ท�าให้มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่องในช่วงครึ่งปีหลังของปีที่แล้วเป็นต้นมา จะเป็นหนี้ ซึ่งจะสร้างปัญหาอื่นๆ ตามมาอีกมาก”
ในระยะแรกดูเหมือนจะเป็นวิกฤติ แต่ในที่สุดก็กลายมาเป็นโอกาสส�าหรับ
ผู้ประกอบการทีวีดาวเทียม ท้ายสุดเมื่อถามถึงความส�าเร็จคุณนิรันดร์กล่าวว่า “ส�าหรับผม
ณ ตอนนี้ยังไม่พอใจ ไม่ใช่ว่าไม่รู้จักพอเพียงนะครับ ผมจะท�างาน
“ไอพีทีวีกับแอนดรอยด์ทีวีนั้น เรามองว่าในช่วง 1-2 ปีนี้คงไม่ส่งผลกระทบ แข่งกับตัวเองตลอด เช่นวันนี้ดีแล้ว พรุ่งนี้ตื่นขึ้นมาก็ต้องมีอะไรดีกว่า
ต่อธุรกิจกล่องทีวีดาวเทียมมากนัก แม้ว่าในระหว่างเดินทางเราก็อาจจะเอา วันนี้ ต้องมีการท้าทายตัวเองไปเรื่อยๆ”
มือถือมาดูทีวีบ้างเป็นบางครั้ง แต่พอกลับถึงบ้านก็จะชอบทีวีที่มีหน้าจอ
ขนาดใหญ่เหมือนเดิม ผมมองว่าไอพีทีวีกับแอนดรอยด์ทีวีเป็นแพลตฟอร์ม
ทีวีทางเลือกมากกว่าส่วนจานดาวเทียมและกล่องรับสัญญาณดาวเทียมนั้น
เรามองว่าอย่างน้อยก็ยังอยู่ติดบ้านคนต่อไปอีกนาน”
CAT MAGAZINE 29