Page 56 - CAT MAGAZINE VOL 14 No. 43 YEAR 2016 JANUARY-MARCH
P. 56

green please

หนอนก้โู ลก
      ขยะโฟมและพลาสติกล้นโลก ดูจะเป็นปัญหาหนักอกของ                        นน่ั กเ็ พราะในลำ� ไสข้ องหนอนนกเหลา่ นมี้ แี บคทเี รยี ทส่ี ามารถยอ่ ยสลายโฟม
      คนท่ัวโลก เพราะปฏิเสธไม่ได้เลยว่าปัจจุบันมีการใช้งานบรรดา            โดยหนอนนกดังกล่าวมีความสามารถในการกินสไตโรโฟม (Styrofoam)
ถงุ บรรจภุ ณั ฑพ์ ลาสตกิ และโฟม ในชวี ติ ประจำ� วนั ของพวกเราอยา่ งมากมาย  ทนี่ ยิ มนำ� มาเปน็ สว่ นประกอบในสนิ คา้ บรรจภุ ณั ฑ์ และพลาสตกิ ประเภทโพ
ก่อให้เกิดขยะท่ีย่อยสลายได้ยาก ตามมาด้วยมลภาวะท่ีเป็นพิษต่อโลก             ลสี ไตรนี (Polystyrene) ในการศึกษาหนอนนก 100 ตัว สามารถกินโฟมได้
ที่เราอาศยั อยนู่ ด้ี ว้ ย                                                 ด้วยอัตรา 34-39 มิลลิกรัมต่อวัน แล้วย่อยสลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์
ข่าวดีก็คือ ล่าสุดนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดของสหรัฐอเมริกา           และขับถา่ ยเป็นมลู โดยมูลสามารถน�ำไปฝังกลบในดินโดยไม่เปน็ อนั ตราย
และมหาวิทยาลัยเป่ยหางของจีน ค้นพบว่า “หนอนนก (Mealworm)”                   แต่อย่างใด
ท่ีนิยมน�ำมาเป็นอาหารให้กับนกและปลาสวยงามนั้น มปี ระโยชนม์ ากกวา่          แม้อัตราการกินโฟมของหนอนนกเหล่านี้จะน้อยมากเมื่อเทียบกับ
ทเ่ี ราคาดคดิ เพราะมันสามารถกินและยอ่ ยสลายโฟมได้ โดยไม่กอ่ ให้เกิด        ขยะโฟมและพลาสติกจ�ำนวนมหาศาลท่ีมนุษย์สร้างข้ึนในแต่ละวัน
มลภาวะแก่โลกแตอ่ ยา่ งใด                                                   แต่ก็ถือเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีดีในการค้นหาวิธีการในการจัดการกับขยะ
                                                                           ย่อยสลายได้ยากเหล่านี้ ที่ส�ำคัญพวกเราก็ต้องไม่ลืมท่ีจะลดการใช้
                                                                           โฟมและพลาสตกิ ทยี่ ่อยสลายยากเหลา่ น้ี เพื่ออนาคตท่ีดขี องคนรุ่น
                                                                           หลงั จรงิ ไหมครบั

56 CAT MAGAZINE
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61