Page 23 - CAT MAGAZINE VOL 14 No. 46 YEAR 2016 OCTOBER-DECEMBER
P. 23
VISION
โครงการ 1
บริการโอนเงินและ
รับโอนเงินแบบใหม่
(พร้อมเพย์-
ดร.อนุชิต ได้เล่าถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ PromptPay)
ต่างๆ ตามแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวนี้ว่า “ระบบการช�าระเงินแห่ง
ชาติถือเป็นโครงสร้างทางการเงินที่มีความส�าคัญของประเทศไทย
ในอนาคตอย่างมาก เพราะจะสามารถน�ามาแก้ปัญหาหลายๆ โครงการ 2 โครงการ 5 โครงการ 4
การขยาย
การให้ความรู้
อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันได้ ทั้งเรื่องความสะดวกสบายในการ การใช้บัตร และส่งเสริมการใช้ e-PromptPay
ภาครัฐ
ใช้งาน ต้นทุนการเงิน ระบบภาษี การเลี่ยงภาษี การป้องกันปัญหา อิเล็กทรอนิกส์
คอร์รัปชัน การเข้าถึงแหล่งเงิน หรือการสนับสนุนผู้มีรายได้น้อย
และที่ส�าคัญยังเป็นฐานของธุรกิจอีคอมเมิร์ซที่ก�าลังเติบโตอย่าง
รวดเร็วได้ทั้งหมด“
โครงการ 3
ระบบภาษีและ
แผนยุทธศำสตร์ด้ำนระบบช�ำระเงิน เอกสารธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์แห่งชำติ อิเล็กทรอนิกส์
ดร.อนุชิต ฉายให้เห็นภาพของโครงการทั้ง 5 ภายใต้แผน
ยุทธศาสตร์ด้านระบบช�าระเงินอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติที่จะท�า เมื่อทั้งสองโครงการเสร็จสมบูรณ์ก็จะท�าให้ประเทศไทยสามารถ
คู่ขนานและร้อยเรียงกันไป โครงการทั้งหมดมีลักษณะคล้ายกับ ก้าวไปสู่เป้าหมายของการเป็นสังคมที่ไร้เงินสดได้ในอนาคต
ตัวต่อจิ๊กซอว์ที่ต้องสอดประสานกัน ไม่สามารถแยกออกจากกัน โดยเลิกใช้เงินสดหรือเช็ค แล้วเปลี่ยนไปใช้การโอนช�าระเงินทาง
ได้ โดยโครงการแรกที่ถือเป็นเรื่องใหญ่และเป็นพื้นฐานรองรับ อิเล็กทรอนิกส์หรือใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์แทน
ระบบช�าระเงินอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติก็คือ ระบบบริการช�าระ
เงินที่เรียกว่า Any ID และได้เปลี่ยนเป็น ‘พร้อมเพย์’ ในภายหลัง ดร.อนุชิตอธิบายว่าสังคมไทยใช้เงินสดกันสูงมาก จากตัวเลข
ซึ่งก็คือการน�าข้อมูลตัวบุคคลหรือ ID (Identification) ประเภทไหน สถิติที่ผ่านมาพบว่าคนไทยใช้เงินสดรวมกันทั้งหมดถึง 7.5 ล้าน
ก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นเลขบัตรประจ�าตัวประชาชน หมายเลขโทรศัพท์ ล้านบาทต่อปี “ที่เห็นได้ชัดก็คือบ้านเรามีตู้เอทีเอ็มมากติดอันดับ
อีเมล บัตร e-Wallet หรือแม้แต่เลขที่บ้าน มาเป็นรหัสผ่านในการ ต้นๆ ของโลก ธนาคารต้องเอาเงินสดไปกองรอในตู้เอทีเอ็มตาม
ช�าระเงินหรือโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ต้องใช้เงินสด แทนที่ สถานที่ต่างๆ โดยเฉพาะในห้างจะเห็นคนเข้าแถวต่อคิวกดเงินสด
จะใช้แค่เพียงหมายเลขบัญชีธนาคารอย่างเดียวเหมือนที่เรา จากตู้เอทีเอ็มเต็มไปหมด ค่าเช่าที่ตู้เอทีเอ็ม 1 ตู้ในห้างก็ตก 3-4
คุ้นเคยกันมานาน หมื่นบาทต่อเดือน เรียงกันยาวๆ บางห้างบางแบงก์มีหลายจุด คิด
เป็นค่าใช้จ่ายมหาศาล ซึ่งระบบช�าระเงินอิเล็กทรอนิกส์จะช่วยแก้
ส่วนโครงการที่ 2 เป็นการขยายการใช้บัตรโดยติดตั้งเครื่องรับ เรื่องของการเสียโอกาสที่ต้องให้เงินสดนอนนิ่งๆ ในตู้เอทีเอ็มแสน
ช�าระเงินหรือ EDC ทั่วประเทศ ส�าหรับประเทศไทย ผลการศึกษา กว่าล้าน ดอกเบี้ยมหาศาล ยังไม่รวมถึงค่าขนส่งและความเสี่ยง
พบว่าการจะเปลี่ยนระบบช�าระเงินของประเทศได้นั้น จะต้องมี จากการขนเงินสดใส่รถหุ้มเกราะไปใส่ตู้เอทีเอ็มทุกที่เพื่อรอให้
จุดรับช�าระเงินทั่วประเทศประมาณ 2 ล้านจุด แต่ในทางปฏิบัติขึ้น คนมากดเงินสดไปใช้ ไม่ใช่เฉพาะตู้เอทีเอ็มที่อยู่ตามห้างเท่านั้น
อยู่กับธนาคารหรือสถาบันการเงินว่าจะท�าได้แค่ไหน ที่ส�าคัญต้อง แม้แต่ตู้บนดอยก็ต้องจ้างคนขนเงินไปใส่ ถือว่าสิ้นเปลืองค่าใช้
วางระบบบริหารจัดการที่ดีเพื่อสนับสนุนให้ร่วมกันหรือแย่งกันท�า จ่ายมหาศาล และเสี่ยงต่อการถูกปล้น”
ไม่ใช่เกี่ยงกันท�า แม้ปัจจุบันจุดรับเงินที่มีอยู่เกือบ 4 แสนเครื่อง
แต่มีจุดรับบัตรไม่ถึง 1 แสนจุด ส่วนหนึ่งยังมีปัญหาการกระจุก “ระบบช�าระเงินอิเล็กทรอนิกส์จะเข้ามาช่วยลดต้นทุนของประเทศ
ตัวของเครื่องรับบัตรในพื้นที่ที่มีการใช้งานสูงเท่านั้น ท�าให้ต้อง เพราะเงินสดมีต้นทุนสูงและเป็นต้นทุนของทุกคน เป็นต้นทุน
มีการกระจายจุดรับช�าระเงินด้วยบัตรให้ขยายออกไปในทุกพื้นที่ ของธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นต้นทุนของธุรกิจที่มีเงินสดเยอะ
ต้นทุนการขนส่ง เดินทาง การแลกเงิน การสูญหาย ถูกโกง หรือ
ปล้นกันอีก ทุกคนในสังคมต้องจ่ายต้นทุนของเงินสดโดยไม่รู้ตัว
มันบวกเข้ามาในค่าสินค้าและบริการทั้งนั้น นั่นจึงเป็นเหตุผล
ว่าท�าไมการท�าธุรกิจอีคอมเมิร์ซที่มีการช�าระเงินกันผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ถึงท�าอะไรได้ถูกลง เมื่อประสิทธิภาพเขาดีขึ้น
ต้นทุนถูกลง เวลาขายของก็ตั้งราคาให้ถูกลงกว่าการค้าขายด้วย
เงินสดตามปกติได้ ดังนั้นระบบช�าระเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่เราจะ
ท�าขึ้นมาก็เพื่อจะแก้ไขปัญหาเรื่องค่าธรรมเนียม แก้อุปสรรค
ต้นทุนของสังคมไทย ทีเดียวครบหมดเลย”
CAT MAGAZINE 21